ประเภทการรับกำลังของเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณเดือนเมษายนที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์บทความในหัวข้อ วิธีในการจำแนกเสาเข็มของเราว่าเป็น เสาเข็ม“รับแรงฝืด” เป็นหลัก หรือ เสาเข็ม “รับแรงแบกทาน” เป็นหลัก และก็ได้มีคำถามๆ ที่ถามเข้ามาจากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งจะมีความต่อเนื่องจากคำถามข้อดังกล่าวนั้นว่า … Read More

ความสำคัญของขั้นตอนการทดสอบคุณสมบัติของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่เพื่อนแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวว่า   “จากที่อ่านบทความของผมมาโดยตลอดผมจะสังเกตได้ว่าคุณดีนพูดอยู่บ่อยๆ ว่าควรที่จะทำการเจาะสำรวจดินในทุกๆ โครงการก่อสร้าง เพื่อที่เราจะได้ทราบค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดิน คำถามก็คือ หากเราเป็นผู้ออกแบบหรือผู้รับเหมาที่จะต้องทำงานให้แก่เจ้าของบ้านที่ว่าจ้างเราแต่ทางเจ้าของบ้านไม่มีความเข้าใจว่าขั้นตอนในการทดสอบดินนั้นมีความสำคัญอย่างไร เราควรที่จะทำอย่างไรดีครับ?” … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากของอาคารในอดีตของประเทศไทย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ตามที่เพื่อนๆ ทราบกันดีว่าระบบฐานรากในปัจจุบันเราจะนิยมใช้เป็นเป็นระบบฐานราก ค.ส.ล โดยจะเป็นฐานรากที่วางลงไปบนดินโดยตรงซึ่งเราจะเรียกว่า BEARING FOUNDATION หรือว่าเป็น ฐานรากที่วางอยู่บนเสาเข็มซึ่งเราจะเรียกว่า PILE … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   หลังจากที่ผมได้พูดถึงและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยว่าวันนี้ผมก็จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงและอธิบายต่อถึงวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อให้จบในส่วนเนื้อหาการโพสต์ส่วนนี้นะครับ ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังจำกันได้ ผมเคยได้อธิบายไปเมื่อสองสัปดาห์ก่อนแล้วว่าเราอาจจะเรียกค่าของการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยวว่าเป็น “การทรุดตัวในตอนเริ่มแรก” หรือ “INITIAL SETTLEMENT” หรือก็มีอีกชื่อหนึ่งซึ่งเรานิยมเรียกกันนั่นก็คือ … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มเดี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นวันนี้ผมจึงจะขอหยิบยกเอากรณีของการคำนวณจริงๆ ที่ผมเคยทำเอาไว้เพื่อที่จะใช้ในการตรวจสอบหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มมาใช้เป็นตัวอย่าง โดยผมขอสรุปปัญหาและข้อมูลให้เพื่อนๆ ได้ทราบดังต่อไปนี้นะครับ ผมมีเสาเข็มไมโครไพล์ต้นหนึ่งดังแสดงอยู่ในรูปที่ 1 ซึ่งเสาเข้มต้นนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการยกตัวอย่างถึงการนำเอาวิธีในการวิเคราะห์ความสามารถในการรับแรงด้านข้างประลัยตามทฤษฏีของ MEYERHOF นี้มาให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับชมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ ซึ่งก็น่าจะเป็นโพสต์สุดท้ายของหัวข้อๆ นี้สำหรับการโพสต์ในครั้งนี้ ต่อไปหากมีเพื่อนท่านใดที่มีความสนใจอีกก็อยากให้ทำการสอบถามเข้ามาอีกที ผมก็จะค่อยนำเอาเรื่องๆ นี้มาทำการอธิบายเพิ่มเติมให้เพื่อนๆ … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาเริ่มต้นทำการอธิบายถึงวิธีการ “โดยละเอียด” ในการประมาณการค่า “ความสามารถในการรับแรงกระทำที่ด้างข้าง” และ “ความสามารถในการรับแรงดัด” ของโครงสร้างเสาเข็มให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งคงจะต้องทำใจกันนิดนึงเพราะว่าเนื้อหาในโพสต์ของวันนี้จะค่อนข้างมีความยืดยาวสักเล็กน้อย ซึ่งวิธีการวิเคราะห์โดยละเอียดนี้จะมีชื่อเรียกว่า … Read More

แนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบในเรื่องรูปแบบของเสียรูปที่เกิดขึ้นในโครงสร้างแปแบบ หน้าตัดแบบปิด และ หน้าตัดแบบเปิด ที่เกิดจากการวางน้ำหนักบรรทุกให้ “ไม่มี” การเยื้องศูนย์และ “มี” การเยื้องศูนย์ออกไปจากแนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัดเพิ่มเติมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ โดยที่ผมจะอาศัยรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ซึ่งน่าจะช่วยทำให้เพื่อนๆ ทุกคนๆ … Read More

แนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ โพสต์ในวันนี้จริงๆ แล้วมีความเกี่ยวข้องกันกับโพสต์ที่ผมได้ทำการอธิบายแก่น้องผู้หญิงท่านหนึ่งไปเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนเกี่ยวกับเรื่อง การโก่งตัวของโครงสร้างคานรับแรงดัด ประกอบกับการที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้รับคำถามในทำนองนี้เข้ามาหลายครั้งแล้ว ซึ่งผมทำการสรุปใจความของคำถามข้อนี้ออกได้ดังนี้ หากเราเป็น “วิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง” หรือ “วิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานก่อสร้าง” หากเราจะต้องทำการวางโครงสร้างแปเหล็กไปบนโครงสร้างโครงถักที่อยู่ในระนาบเอียงตามในรูป สำหรับในกรณีที่เราไม่สามารถที่จะใช้หน้าตัดของโครงสร้างแปเหล็กให้เป็นแบบ “หน้าตัดแบบปิด” … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่า ในวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่า NORMAL FORCE STIFFNESS หรือ AXIAL STIFFNESS หรือ … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 33