ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน จริงๆ แล้วประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากๆ ในการที่เราจะต้องใช้ในการทำการทดสอบดินของเราเลยนะครับ เพราะ หากเราเลือกความลึกของหลุมเจาะที่ตื้นจนเกินไป เราก็อาจนำผลจากการทดสอบนี้ไปใช้ในการออกแบบตัวฐานรากไม่ได้เลย เนื่องจากจริงๆ แล้วอาคารของเรานั้นจำเป็นที่จะต้องใช้ขนาดของเสาเข็มที่มีความยาวมากกว่านั้น และ หากว่าเราเลือกใช้ความลึกของหลุมเจาะที่มีความลึกที่มากจนเกินความจำเป็นที่เราต้องใช้จริงๆ ก็อาจจะกลายเป็นความสิ้นเปลืองมากจนเกินไปก็ได้ครับ ผมกล่าวมาถึงตรงนี้ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจที่จะพอมองภาพออกแล้วใช่มั้ยครับว่าประเด็นที่เราควรนำมาพิจารณาใช้ในการกำหนดขนาดความลึกของเสาเข็มนั้นคืออะไร ? ถูกต้องครับ ประเด็นนั้นก็คือ ขนาด และ … Read More

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ? เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ เราจะทำการแก้ไขปัญหานี้ได้ค่อนข้างยากเอาเรื่องอยู่นะครับ ดังนั้นหนทางที่ดีที่สุด คือ เราก็ควรที่จะป้องกันไม่ให้ปัญหานี้เกิดขึ้นก็จะเป็นการดีที่สุดนั่นเองนะครับ ผมขออนุญาตตอบคำถามเพื่อนท่านนี้ดังนี้ก็แล้วกันนะครับ นอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว ไม่ว่าจะโดยวิธี STATIC LOAD TEST หรือ … Read More

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน และ เมื่อดูจากผลการทดสอบดินจะพบว่าชั้นดินที่ปลายเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชนิดกัน เราควรที่จะเชื่อถือ ผลจากการตอกเสาเข็ม หรือ ผลการทดสอบตัวเสาเข็ม และ เราจะมีวิธีในการคิดและตัดสินใจใช้ความยาวของเสาเข็มนี้อย่างไร ? ผมต้องขอขยายความตรงนี้นิดหนึ่งก่อนนะครับ หากเราปล่อยให้ปลายของเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชั้นกัน และ ทำการควบคุมกระบวนการๆ ตอกเสาเข็มให้ได้จำนวน BLOW COUNT ที่ได้รับการออกแบบไว้แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีการคำนึงถึงผลจากการ ทดสอบชั้นดิน … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก วิธีการเสริม เหล็กนอน (MAIN REIFORCEMENT STEEL) ในฐานราก F2 F3 F4 และ F5 ที่ได้รับการออกแบบโดย BALANCE METHOD และ STRUT AND TIE METHOD … Read More

การจัดลำดับการตอกเสาเข็ม หรือ PILING SEQUENCE

การจัดลำดับการตอกเสาเข็ม หรือ PILING SEQUENCE การจัดผังลำดับของการตอกเสาเข็มนั้นมีประโยชน์มากนะครับ ทั้งต่อตัว เสาเข็ม เองและต่อตัว ปั้นจั่นด้วยนะครับ เช่น ต่อตัวเสาเข็ม สำหรับงานอาคารสูง หากเราทำการจัดลำดับของการตอกเสาเข็มให้ดีๆ จะพบว่าสามารถช่วยเรื่องการที่เสาเข็มจะเกิดการ หนีศูนย์ (PILE DEVIATE) ได้เยอะมาก เนื่องจากในโครงการหนึ่งๆ จำนวนเสาเข็มที่ใช้นั้นมีปริมาณที่ค่อนข้างมากอยู่ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D คือ ระยะเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ เพราะ หากให้ระยะนี้น้อยกว่า 3 เท่าของ D จะทำให้แรงเค้นในมวลดินนั้นเกิดการซ้อนทับกัน … Read More

UPLIFT FORCE

ปัจจัยที่ผู้ออกแบบหลายๆ คนมักจะลืมคำนึงถึงในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสระว่ายน้ำก็คือเรื่อง แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ ศัพท์ทางเทคนิคที่เรานิยมเรียกกันจนติดปากว่า UPLIFT FORCE ท่านใดกำลังทำงานออกแบบงานจำพวกสระน้ำ ถังเก็บน้ำ ที่มีลักษณะของโครงสร้างที่อาจจะจมอยู่ใต้ดินทั้งหมด หรือ แค่เพียงบางส่วน ก็แล้วแต่ ทั้งหมดที่ผมได้กล่าวถึงนี้ก็ล้วนแล้วแต่ต้องคำนึงถึงสภาวะๆ นี้แทบทั้งสิ้นนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออธิบายกับเพื่อนๆ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะไม่ให้เพื่อนๆ นั้นเกิดความสับสนก่อนนะครับว่า แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING เราจะต้องทำการคำนวณค่า LATERAL STIFFNESS จากสัดส่วนของค่า VERTICAL STIFFNESS  สำหรับในกรณีที่เรานั้นไม่มีข้อมูลการทดสอบชั้นดิน (SOIL LABORATORY … Read More

การแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

การแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก เป็นต้น โดยหากในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มนั้นเกิดการแตกหัก หรือ เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไป เราก็อาจจะมีวิธีในการแก้ไขได้ด้วย 3 หลักการดังต่อไปนี้ (1) … Read More

วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสร้างเหล็ก

Mr.เสาเข็ม มาแล้วครับ มาพร้อมสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม กันอีกเช่นเคยนะครับ วันนี้ จะเป็นหัวข้อเรื่อง วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้าง คสล และ โครงสร้างเหล็ก วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสร้างเหล็ก ซึ่งได้แก่วัสดุเหล็ก (STEEL MATERIAL) และ วัสดุคอนกรีต (CONCRETE MATERIAL) … Read More

1 28 29 30 31 32 33