การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องการนำทฤษฎีเรื่อง INFLUENCE LINE มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างสะพาน ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงเรื่องข้อกำหนดในการทำงานก่อสร้างอย่างหนึ่งที่เรามิควรละเลยและจำเป็นอย่างมากที่ควรจะต้องปฏิบัติสำหรับการทำงานก่อสร้าง เรื่องนี้ก็คือ การทำโครงสร้าง “เสาเอ็น” และ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ จริงๆ ผมได้ทำการพูดถึงและให้ความรู้แก่เพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่องสะพานมาพักใหญ่ๆ แล้วนะครับ แต่ ที่ผ่านมานั้นผมมักที่จะสังเกตเห็นบ่อยๆ ว่าเพื่อนๆ ยังคงมีความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับระบบการก่อสร้างของโครงสร้างสะพานอยู่ ในวันนี้ผมจึงอยากจะขอมาย้อนกลับไปให้ความรู้แก่เพื่อนๆ … Read More

ระบบพื้น POST-TENSIONED

ระบบพื้น POST-TENSIONED ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ? คำตอบ คือ ได้ครับ แต่ ต้องมีประโยคที่เป็นข้อแม้ต่อท้ายด้วยนะครับ … Read More

ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING

ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ของชิ้นส่วนโครงสร้างรับ แรงอัด คือค่า kL/r = 200 และ ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) ก่อนอื่นผมขอทวนคำถามก่อนสักนิดนะครับ “ประเภทของโครงถักใดที่จะสามารถรับ นน ในแนวดิ่งได้ดีกว่ากัน ?” และเมื่อวานผมได้อธิบายไปแล้วว่าเราควรที่จะสามารถทำการแบ่งโครงถักออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ (1) แบบที่ TOP … Read More

กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL

กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL ก่อนอื่นผมอยากจะขออนุญาตเท้าความให้แก่เพื่อนสมาชิกทั่วๆ ไปให้ได้ทำความรู้จักกันถึงกำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL กันพอสังเขปก่อนก็แล้วนะครับ กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL ก็คืองานโครงสร้างใต้ดินประเภทหนึ่งที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันนะครับ เป็นเทคนิคในการทำการก่อสร้างตัวกำแพงกันดินโดยที่ไม่ต้องอาศัย SHEET PILE เลย ซึ่งระบบการก่อสร้างนี้สามารถที่จะกันน้ำใต้ดินได้ดี และ สามารถดัดแปลงมาใช้กับเทคนิคการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดิน และ … Read More

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว ความยาวของเสาเข็มที่เราใช้นั้นเริ่มที่จะไม่ค่อยสอดคล้องกันกับข้อเท็จจริงๆ ที่เป็นแล้ว เพราะ หากว่าเราใช้ความยาวเสาเข็มที่มีความยาวมากๆ ปลายของเสาเข็มของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะหยั่งอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงจนสามารถที่จะเรียกได้ว่าเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทาน (END BEARING PILE) ได้นะครับ สรุปง่ายๆ คือ ต่อให้เราใช้เสาเข็มที่มีความยาวมากขนาดไหน ค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้ก็จะมีโอกาสที่จะออกมาต่ำกว่าความเป็นจริงค่อนข้างสูงนั่นเองนะครับ เรามาดูตัวอย่าง วันนี้กันดีกว่านะครับ โดยตัวอย่าง ในวันนี้เราจะมาดูเสาเข็มสี่เหลี่ยมตันขนาด สผก เท่ากับ … Read More

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER ค่าที่จะต้อง INPUT นั้นมีหลายตัว และ เมื่อวานผมได้เริ่มต้นทำการอธิบายวิธีการ INPUT วัสดุที่เป็นคอนกรีตไปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตอธิบายต่อด้วยค่า PARAMETER ของวัสดุที่เป็นเหล็ก (STEEL) กันบ้างก็แล้วกันนะครับ ก่อนอื่นเลยนะครับเราจำเป็นที่จะต้องทราบเสียก่อนว่า เหล็ก นั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ … Read More

1 27 28 29 30 31 32 33