ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

สวัสดีครับแฟนเพจ ภูมิสยามไมโครไพล์ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน … Read More

วิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD

พบกันอีกครั้งกับ แอดมิน ADMIN JAMES DEAN หนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL … Read More

วิธีการที่ต่อยอดนำเอาวิธี CASTIGLIANO’S 2’ND THEOREM กับการก่อสร้าง

วิธีการที่ต่อยอดนำเอาวิธี CASTIGLIANO’S 2’ND THEOREM กับการก่อสร้าง พบกันอีกครั้งนะครับ เนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของ โครงสร้างต่างๆ โดยวิธี CASTIGLIANO’S 2’ND THEOREM ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตที่จะขึ้นเรื่องใหม่ซึ่งเรื่องใหม่เรื่องนี้ก็ยังคงมีความเกี่ยวพันธ์กับเรื่องๆ เดิมนี้อยู่นะครับ นั่นก็คือ การนำเอาวิธีการ LEAST WORK ซึ่งเป็นวิธีการที่ต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่เหนือพื้นดินขึ้นมาและใต้พื้นดินลงไป

การออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไปนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมเพิ่งจะทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง การออกแบบเสายาว โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ หากผมมีขนาด ความยาว ของเสา ซึ่งมีขนาด … Read More

ออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

การออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไปนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมเพิ่งจะทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง การออกแบบเสายาว โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ หากผมมีขนาด ความยาว ของเสา ซึ่งมีขนาด … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด การเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง หรือ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากในช่วงเวลาทีผ่านมานั้นผมสังเกตเห็นว่ามีแฟนเพจหลายๆ คนชอบมีคำถามคล้ายๆ กันในทำนองที่ว่า … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) ระบบปลั๊กฝังคอนกรีต

  การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) ระบบปลั๊กฝังคอนกรีต เนื่องจากมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาในอินบ็อกซ์เกี่ยวกับเรื่อง เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL) โดยมีรายละเอียดพอจับใจความได้ว่า “ผมมีความจำเป็นต้องเลือกใช้งานเคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล จึงอยากจะสอบถามผมว่าเราจะมีวิธีการคำนวณและดูค่าจากในตารางคู่มือการใช้งานว่า … Read More

ตัวอย่างข้อสอบในวิชา STRUCTURAL ANALYSIS เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้เพื่อการศึกษา

  ตัวอย่างข้อสอบในวิชา STRUCTURAL ANALYSIS ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL ANALYSIS นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 35 โมเมนต์ภายในที่จุดรองรับ B มีค่าเท่ากับเท่าใด ? เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ เราต้องพยายามที่จะตั้งสติหลังจากที่อ่านโจทย์หรือปัญหาทีไ่ด้รับก่อนเสมอนะครับ เพราะ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องหลักการในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณว่า “เมื่อทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณชิ้นส่วนที่เป็น คาน-เสา (BEAM-COLUMN ELEMENT) เหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทำการคำนวณปรับแก้ ค่าตัวคูณขยายค่า (MAGNIFICATION FACTOR) ช่วยอธิบายให้ทราบหน่อยจะได้มั้ยครับ ?” ผมถือว่าคำถามข้อนี้เป็นคำถามที่มีความน่าสนใจดีนะครับ … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 33