สมการในการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังถึงเรื่องสมการในการคำนวณหาค่า นน บรรทุกของเสาเข็ม ซึ่งสุดท้ายค่า PARAMETER ที่เราจะได้จากคำนวณจากข้อมูลของดินอย่างที่ผมได้เคยเล่าให้เพื่อนๆ ฟังก่อนหน้านี้ ก็จะถูกนำมาคำนวณในสมการเหล่านี้นั่นเองครับ   เรามาดูกันก่อนนะครับว่าตัวย่อของค่าต่างๆ ที่จะถูกนำไปแทนค่าในสมการต่างๆ เหล่านี้ประกอบไปด้วยตัวย่ออะไรบ้าง เริ่มต้นจากค่าคุณสมบัติต่างๆ ของเสาเข็มและค่าอัตาส่วนความปลอดภัยที่เราจะใช้ในการคำนวณหาค่า นน บรรทุกของเสาเข็มที่ยอมให้กันนะครับ Pp … Read More

งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายแก่เพื่อนๆ รวมถึงรุ่นน้องท่านหนึ่งที่กำลังจะทำงานวิจัยในระดับ ป ตรี ส่งทางภาควิชาเพื่อที่จะจบและสำเร็จการศึกษา เพราะ น้องเค้าตั้งใจอยากที่จะทำทางด้าน งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม   จากที่ผมได้คุยกันกับน้องท่านนี้ไปเมื่อหลายวันก่อนที่น้องปรึกษาพี่เรื่องการออกแบบระบบกำแพงกันดินโดยใช้วิธีการตอกเสาเข็ม และ ทำการสอดแผ่นสำเร็จรูปเพื่อที่จะทำหน้าที่ถ่ายแรงกระทำทางด้านข้างจากมวลดิน รวมไปถึง นน SURCHARGE ต่างๆ ให้เข้าไปที่ตัวของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งผมได้อธิบายกับน้องท่านนี้ไปว่าสำหรับกรณีการรับ นน … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ และ ถึงแม้ว่าประเด็นๆ นี้จะเป็นแค่เกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ แต่ผมก็เชื่อเหลือเกินครับว่าเพื่อนๆ หลายๆ ท่านเองคงจะเคยถกเถียงกันอย่างแน่นอน นั่นก็คือ “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” นั่นเองนะครับ 💡  เนื่องจากว่าเมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ      หลังจากที่เมื่อวานผมได้มาแชร์ให้เพื่อนๆ ทราบกันไปแล้วว่าดินเองก็มีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเช่นเดียวกันกับวัสดุอื่นๆ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขออนุญาตเริ่มต้นอธิบายก่อนนะครับว่าถึงแม้ว่าดินที่เรากำลังพูดถึงนี้จะมีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเหมือนกันกับวัสดุอื่นๆ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า … Read More

ชนิดของโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ TYPES OF SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION … Read More

ระบบพื้น POST-TENSIONED (เสาเข็มไมโครไพล์)

ระบบพื้น POST-TENSIONED (เสาเข็มไมโครไพล์) ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ? คำตอบ คือ ได้ครับ แต่ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

สวัสดีครับแฟนเพจ ภูมิสยามไมโครไพล์ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน … Read More

SHAFT ที่จะมีหน้าที่ในการรับ แรงบิด หรือ TORSIONAL FORCE

ความรู้ทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์ SHAFT ที่จะมีหน้าที่ในการรับ แรงบิด หรือ TORSIONAL FORCE จากรูปจะเป็นโครงสร้างเพลา หรือว่า SHAFT ที่จะมีหน้าที่ในการรับ แรงบิด หรือ TORSIONAL FORCE โดยที่แท่งเหล็กหรือว่า ROD นั้นจะมีความยาวเท่ากับ L และมีค่าโมดูลัสแรงเฉือนหรือ … Read More

การนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

สวัสดีครับแฟนเพจ ภูมิสยามไมโครไพล์ ที่รักทุกๆ ท่าน ครับผม ๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง BORING LOG กันสัก 1 อาทิตย์นะครับเพราะว่าผมเพิ่งไปประสบพบเจอเข้ากับเหตุการณ์ๆ หนึ่งโดยบังเอิญและคิดว่าน่าจะยังมีเพื่อนๆ … Read More

ปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอถึงเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนไปแล้วแต่ก็ยังมิวายมีเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนยังอินบ็อกซ์กันเข้ามาสอบถามผมว่า อยากที่จะเห็นตัวอย่างของรอยเชื่อมเหล่านี้ว่าแบบ ดี และ … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 33