ลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขอมายกตัวอย่างกันให้เห็นถึงลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีตกันต่อจากเมื่อวานนะครับ มาเริ่มต้นกันทีละภาพนะครับ (A) เริ่มจากภาพ (A) เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการแตกร้าวของคอนกรีตทั้งแบบ STRUCTURAL CRACK และ NON-STRUCTURAL CRACK นะครับ จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกิดจากการที่ผู้ทำงานไม่ใส่ใจที่จะดูแลเรื่องร่วเหล่านี้ไป ทั้งๆ ที่สามารถจะทำได้ตามปกติวิสัยของการทำงานอยู่แล้ว (B) ในรูป (B) … Read More

การออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานผมได้โพสต์บทความเรื่องโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้กระซิบมาหลังไมค์สอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องนี้พอดีครับว่า “ในการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตล้วนนั้นมีวิธีการออกแบบพอสังเขปได้อย่างไร ?” ผมเลยขอคั่นการโพสต์บทความของผมด้วยการแสดง ตย ของการคำนวณโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันก่อนที่เราจะก้าวไปยังหัวข้อถัดไปนะครับ (รูป A) โดยที่ผมทำการสมมติให้ใช้ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ตย ทรงกระบอกขนาดมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 210 … Read More

โครงสร้างคอนกรีตล้วน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่ผ่านมาหลายๆ ครั้งแอดมินมักจะได้ยินเพื่อนๆ หลายท่านนั้นยังคงสับสนถึงคำว่า “โครงสร้างคอนกรีต” กันอยู่เนืองๆ วันนี้ผมจึงอยากจะขอมาเรียบเรียงและทำความเข้าใจกับเพื่อนๆ เสียใหม่ถึงประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา ทั้งนี้เมื่อต่อไปหากเราพูดถึง โครงสร้างคอนกรีต จะได้เข้าใจถูกต้อง และ ตรงกันนั่นเอง เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากหลายๆ วันที่ผ่านมาเราวนเวียนกันอยู่ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้าง คสล กันไปหลายเรื่องแล้ว วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ บ้างนะครับ เพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าในการออกแบบหน้าตัดเหล็กนั้น เราจะจำแนกหน้าตัดออกเป็น  (1) หน้าตัดรับแรงดึง  (2) หน้าตัดรับแรงอัด (3) หน้าตัดรับแรงดัด คำถามก็คือ หากหน้าตัดเกิดผสมผสานกันระหว่าง รับแรงดึงและแรงดัด กับ … Read More

อิฐมวลกลาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ ในปัจจุบันนี้เพื่อนๆ หลายๆ ท่านคงจะเริ่มคุ้นหูกับผลิตภัณฑ์อิฐต่างๆ เช่น อิฐมอญ อิฐบล็อค และ อิฐมวลเบา กันเป็นอย่างดีแล้วใช่มั้ยครับ ? วันนี้แอดมินจะมาแนะนำและให้พวกเราทำความรู้จักกับ “อิฐมวลกลาง” กันบ้างนะครับ อิฐมวลกลาง ที่มีขายออยู่ตามท้องตลาดของบ้านเราในปัจจุบันมักจะเป็นอิฐคอนกรีตตันมวลกลาง อิฐชนิดนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการในงานก่อสร้างทั้งใน งานบ้าน งานอาคารสูง … Read More

การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์ถามแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปอย่างไรบ้าง แอดมินเห็นว่ามีประโยชน์เลยจะมาขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับฟังกันในเพจนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นต้องขอเล่าให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้    อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

ประเภทของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายในหัวข้อที่ (2) การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำนะครับ (A) เสาเข็มไม้ … Read More

วิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบกึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อหลายวันก่อนผมได้นำเสนอวิธีการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตแบบไม่ทำลาย (NON-DESTRUCTIVE TEST) ไปแล้ว ดังนั้นวันนี้จะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีแบบ กึ่งทำลาย (SEMI-DESTRUCTIVE TEST) ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ หลักการการของทดสอบเพื่อที่จะประเมินหาค่ากําลังอัดของคอนกรีต (COMPRESSIVE STRENGTH) โดยวิธีการข้างต้นมีชื่อว่า CORE DRILLING TEST วิธีการนี้เป็นการทดสอบคอนกรีตแบบ … Read More

ข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ  วันนี้แอดมินจะนำเรื่องข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ มาฝากเพื่อนทุกๆ ท่านนะครับ เรามาเริ่มดูรายละเอียดของผนังก่อกันเลยนะครับ     ผนังก่ออิฐฉาบปูน เป็นผนังชนิดที่มีความแข็งแรง เนื่องจากน้ำหนักของตัวเองมีค่ามาก จึงต้องการโครงสร้างมารองรับ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ       เนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายวิธีในการถ่าย นน จากโครงสร้างแผ่นพื้น คสล ไปลงบนคาน คสล … Read More

1 23 24 25 26 27 28 29 33