วิศวกรรมแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ เช่น นน บรรทุกคงที่ นน บรรทุกจร นน บรรทุกแรงลม เป็นต้น สาเหตุเป็นเพราะว่าแรงกระทำที่เกิดจากแผ่นดินไหวนั้นจะทำให้อาคารเกิดการเคลื่อนที่ในรูปแบบวัฎจักร … Read More

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ผมเข้าใจว่าเนื่องจากเมื่อโพสต์ที่แล้วของผมนั้นเกี่ยวข้องกับงานธรณีเทคนิคจึงมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องที่น่าสนใจ ซึ่งผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกคนเลยนำมาแชร์ให้กับเพื่อนๆ ด้วยนะครับ เรื่องนั้นก็คือประเภทของดินว่ามีกี่ชนิด และ แต่ละชนิดว่ามีคุณสมบัติอะไรที่โดดเด่นและมีความแตกต่างกันอย่างไรนะครับ ผมขอตอบแบบนี้นะครับ ลักษณะของดินสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ โดยลักษณะความแตกต่างกันของดินทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ขนาดของเม็ดดิน และ คุณสมบัติของค่า c … Read More

การคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้อธิบายให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับชิ้นส่วนสำคัญในผนังรับแรงเฉือน ซึ่งก็คือ BOUNDARY ELEMENT ไปแล้วนะครับ ก็คาดหมายว่าเพื่อนๆ จะรู้จักกับชิ้นส่วนๆ นี้เมื่อต้องดูแบบวิศวกรรมโครงสร้างนะครับ ในวันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีการอีกวิธีการหนึ่งในการคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือนที่เราทำการออกแบบนั้นจะต้องการชิ้นส่วนที่เรียกว่า BOUNDARY ELEMENT หรือไม่กันอีกวิธีการหนึ่ง พร้อมกันนี้ผมยังได้อธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาขนาดของหน้าตัดของทั้ง 2 วิธีการนี้ด้วยวิธีการพอสังเขปแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ โพสต์นี้ออกจะยาวสักหน่อยแต่ผมเชื่อว่าน่าจะเป็นประโยชนืต่อเพื่อนๆ … Read More

การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More

ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นระยะยาวในคอนกรีตทั่วๆ ไป หรือ LONG TERM MODULUS OF ELASTICITY IN NORMAL CONCRETE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน เรื่องที่จะนำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ก็คือ ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นระยะยาวในคอนกรีตทั่วๆ ไป หรือ LONG TERM MODULUS OF ELASTICITY IN NORMAL CONCRETE นั่นเองครับ (รูปที่ 1) ก่อนอื่นผมต้องขอท้าวความก่อนนะครับว่าเวลาที่ผมพิจารณาออกแบบโครงสร้าง คสล ที่มีความยาวช่วงมากๆ ที่มีการรับ … Read More

ทดสอบหาค่าโมดูลัสการแตกร้าว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมโพสต์เกี่ยวกับค่าหน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว และ มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งถามผมมาว่าจากในรูปที่ผมแนบมาด้วยนั้น (ดูรูปที่ 1) เป็นรูปการทดสอบค่าๆ นี้หรือไม่ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามข้อนี้นะครับ ประการแรกเลยนะครับ คำตอบ คือ ใช่ครับ การทดสอบหาค่าๆ นี้สามารถทำการทดสอบได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ … Read More

กล่องแรงเค้นอัด WHITNEY REGTANGULAR STRESS BOX

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน เมื่อวานนี้ตอนช่วงเย็นๆ ผมมีโอกาสได้สนทนากับผู้ร่วมวิจัยในระดับ ป เอก ท่านหนึ่งเรื่อง WHITNEY REGTANGULAR STRESS BOX แต่เพื่อนท่านนี้ทำหน้างงๆ เลยนึกขึ้นได้ว่าเพื่อนๆ เองก็อาจจะยังไม่รู้จักความหมายของคำๆ นี้เช่นกัน ผมจึงอยากหยิบเอาคำๆ นี้มาอธิบายในค่ำคืนนี้แล้วกันนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอท้าวความไปที่หน้าตัดของคาน คสล ในสภาวะประลัยก่อนนะครับ จากผลการทำงานวิจัยในห้องปฏิบัติการพบว่าที่สภาวะการใช้งานของคาน … Read More

ประเภทของแรงเค้น

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More

การออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าในการออกแบบคานสำหรับโครงสร้างจำพวก คอร เราสามารถที่จะทำการออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน วันนี้เราจะมาพูดคุยเรื่องนี้กันนะครับ เพื่อความเข้าใจที่ง่ายยิ่งขึ้นผมจึงขอยก ตย คานดังรูปนะครับ โดยข้อมูลการออกแบบจะประกอบไปด้วย ข้อมูลของหน้าตัดที่ทำการออกแบบ ec = et = 33.3 cm ct = … Read More

พัฒนาการของวิธีในการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากที่ผ่านมา หนึ่งในหลายๆ คำถามที่ผมได้รับจากเพื่อนๆ คำถามหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบงานโครงสร้าง คสล เลยก็คือ วิธีในการออกแบบงานโครงสร้าง คสล เช่น ในปัจจุบันเรามีวิธีในการออกแบบวิธีการใดบ้าง เราควรใช้วิธีใดในการออกแบบ เป็นต้น วันนี้ผมจึงอยากจะมาเล่าให้ฟังถึงปัญหาข้อนี้นะครับ รวมถึงเล่าพอสังเขปถึงพัฒนาการของวิธีในการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ACI กันครับ … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 33