วิธีการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรของผมท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับวิธีในการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากนะครับ กรณีปัญหามีอยู่ว่า หากทำการตอกเสาเข็มในฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น (F2) แล้วเสาเข็มต้นใดต้นหนึ่งเกิดเสียหายไป จะทำการแก้ไขโดยการหมุนฐานรากในระนาบ 90 องศา ได้เลยหรือไม่ครับ ? ผมขอตอบแบบนี้นะครับ คือ ได้ และ ไม่ได้ ครับ งง … Read More

การหาความเค้นดัดในคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงหัวข้อสำคัญในการพิจารณาเรื่อง MECHANICS OF MATERIALS นะครับนั่นก็คือหัวข้อ FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM นั่นเองนะครับ สาเหตุที่ผมหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ เพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ … Read More

การหมุนฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ กันต่อจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ โดยวิธีการนี้ คือ การหมุนฐานราก นั่นเองนะครับ และ ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยอีกเช่นเคยนะครับ โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตาม ตย ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการยก ตย เพื่อที่จะขยายความคำอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน นะครับ ใน ตย นี้ผมขอยก ตย คาน คสล อันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ … Read More

ตัวอย่าง การระมัดระวังไม่ให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็ก(โครงถัก)เกิดการเยื้องศูนย์ ผิดไปจากที่ทำการออกแบบไว้ในตอนแรก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาพูดต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานที่มีความเกี่ยวกับ ประเด็นสำคัญๆ ที่เราควรที่จะทำการพิจารณาเวลาที่ทำการออกแบบและการทำงานก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กแก่เพื่อนๆ กันนะครับ ซึ่งประเด็นในวันนี้ก็ยังคงเกี่ยงข้องกับเรื่อง การที่เราควรที่จะระมัดระวังมิให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากการที่เราได้ทำการออกแบบไว้ตั้งแต่ในตอนแรกนะครับ โดยในวันนี้ผมหยิบยก ตย ขึ้นมาให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันด้วย เพื่อนๆ จะได้สามารถที่จะเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นด้วยนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในโพสต์ที่แล้วนะครับว่า ที่มาของปัญหานี้ คือ เวลาที่ผู้ออกแบบทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ขึ้นมาเพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโครงถักเหล็ก เรามักที่จะทำการจำลองให้ตำแหน่งของศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นตรงกัน แต่ ในสภาพความเป็นจริงเวลาที่ช่างทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กมักที่จะทำงานโดยอาศัยความง่ายในการทำงานเอาไว้ก่อน … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า DEEP FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่หลายๆ วันที่ผ่านมานั้นมีหลายๆ ครั้งที่ผมพูดถึงและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่องงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION) และ ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) โดยที่ก่อนหน้านี้ผมไม่ได้ทำการอธิบายถึงเรื่องประเภทของระบบฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบก่อนนะครับ เอาเป็นว่าผมต้องขออภัยเพื่อนๆ มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ … Read More

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้กล่าวนำถึงเรื่องกำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) โดยเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นนำถึงนั้นก็คือเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN) นะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ชนิด ของวัสดุที่เรานิยมนำมาใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างกันต่อนะครับ โดยชนิดของวัสดุที่ผมจะกล่าวถึงในวันนี้ คือ วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้าง … Read More

ระบบฐานรากเป็นระบบเสาเข็ม (PILE FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาอธิบายต่อจากโพสต์เมื่อวาน โดยผมจะกล่าวถึงกรณีที่เราทำการใช้ระบบฐานรากเป็นระบบเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) แต่ว่าครั้งนี้ปลายของเสาเข็มนั้นจะวางอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงแทนนะครับ ก่อนอื่นเรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาให้เพื่อนๆ ได้ดูก่อนนะครับ โดยในรูปจะแสดงสภาวะต่างๆ ของดินเริ่มตั้งแต่ STAGE 1 ไปจนถึง STAGE 3 ในรูปแรกคือ STAGE 1 จะแสดงให้เห็นถึงสภาพของดินโดยทั่วๆ … Read More

การเสริมเหล็กปลอกในเสาแบบเดี่ยวและเหล็กปลอกแบบเกลียวนั้นเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เวลาที่เพื่อนๆ สังเกตดูรายละเอียดการเสริมเหล็กปลอกในเสาแล้วเคยเกิดข้อสงสัยหรือไม่ครับว่าการเสริมเหล็กปลอกในเสาด้วยเหล็กปลอกแบบเดี่ยวและเหล็กปลอกแบบเกลียวนั้นเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง? ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นๆ นี้นะครับว่าการเสริมเหล็กปลอกในเสา คสล ด้วยการเสริมเหล็กแบบเดี่ยวและเหล็กปลอกแบบเกลียวนั้นมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรนะครับ ประโยชน์ของการใช้เหล็กปลอกทั้งที่เป็น แบบปลอกเดี่ยว ที่อยู่แยกกัน หรือ แบบปลอกเกลียว คือ เพื่อที่จะยึดเหล็กยืนในเสาให้อยู่ในตำแหน่งที่เราต้องการ และ เพื่อป้องกันมิให้เหล็กยืนในเสานั้นเกิดการโก่งเดาะนะครับ ในรูปที่ผมแนบมาด้วยจะแสดงให้เห็นถึงกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าอัตราการหดสั้นตามแนวแกน … Read More

เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มความหนาของฐานรากให้หนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็ม ออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานผมพบว่ามีเพื่อนๆ หลายคนของเราสนใจกันเป็นพิเศษ โดยคำถามที่ผมได้รับตามมาก็ คือ เพราะเหตุใด เมื่อใดที่เราเพิ่มความหนาของฐานรากให้ค่อนข้างที่จะมีความหนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ? ผมขออนุญาตตอบตามหลักการที่เพื่อนๆ สามารถที่จะเข้าใจได้ด้วยภาษาบ้านๆ แบบนี้แล้วกันนะครับว่า เหตุผลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด คือ การใช้ความหนาที่หนาจะทำให้ STIFFNESS หรือ ความแข็งแกร่ง … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 33