การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ถึงหลักการในการออกแบบโครงสร้างให้มีความแข็งแรงด้วยวิธีการง่ายๆ แต่ มักจะถูกละเลย หรือ อาจถูกหลงลืมไปจากผู้ออกแบบอยู่บ่อยครั้ง นั่นก็คือ เทคนิคและวิธีในการเชื่อมต่อ สปริงแบบเชิงเส้น (LINEAR SPRING) เข้ากับตัวโครงสร้างนั่นเองนะครับ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อที่ (2) และ (3) ต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับ ก่อนอื่นผมขอทวนคำถามก่อนสักนิดนะครับ “ประเภทของโครงถักใดที่จะสามารถรับ นน ในแนวดิ่งได้ดีกว่ากัน … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More

ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ต้องถือว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล แต่ ก็มักที่จะถูกมองข้ามไปอยู่เสมอๆ เลยนะครับ นั่นก็คือประเด็นในเรื่องของ ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล … Read More

เพราะเหตุใดทางเพจถึงไม่สามารถที่จะแจ้งราคา หรือ ทำการติดต่อพูดคุยกันกับแฟนเพจได้โดยตรงในทันทีขณะนั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากว่าที่ผ่านมานั้นผมตั้งข้อสังเกตว่าในหลายๆ ครั้งที่มีแฟนเพจติดต่อสอบถามเข้ามาทั้งหน้าไมค์ และ หลังไมค์กับทางเพจ และ ในทุกๆ ครั้งทางแอดมินของทางเพจจะต้องทำการแจ้งกลับไปว่าต้องขออนุญาตให้ทางฝ่ายขายของภูมิสยามนั้นทำการติดต่อกลับไป ผมคิดว่าเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนอาจจะมีข้อสงสัยในทำนองว่า “ เพราะเหตุใดทางเพจถึงไม่สามารถที่จะแจ้งราคา หรือ ทำการติดต่อพูดคุยกันกับแฟนเพจได้โดยตรงในทันทีขณะนั้น ?” “ เหตุใดส่วนใหญ่จึงต้องรอให้คุยกันทางข้อความส่วนตัว หรือ … Read More

เหตุใดเค้าจึงทำการเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ครับว่าในทางรถไฟ ไม่ว่าจะเป็นขบวนแบบใด จะเป็นรถไฟที่มีความช้า หรือ จะมีความเร็วก็ตาม เหตุใดเค้าจึงทำการเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ในประเด็นๆ นี้กับเพื่อนๆ … Read More

การพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนสถาปนิกที่ได้ฝากเอาไว้ว่า “เวลาที่สถาปนิกทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมโดยเฉพาะขนาดของ โครงสร้างเสา มักที่จะพบปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ซึ่งหลายๆ ครั้งจะพบว่าทางวิศวกรมักจะต้องขอทำการแก้ไขแบบอยู่เสมอๆ อยากทราบว่าจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ?” ผมขออนุญาตตอบเพื่อนสถาปนิกท่านนี้แบบนี้นะครับ ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารของเราเป็นเพียงอาคาร … Read More

เกณฑ์ในการพิจารณาว่าชั้นดินใดๆ นั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการ CONSOLIDATE หรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนท่านหนึ่งที่ได้ถามผมมาในเพจส่วนตัวของผมว่า “หากเราจำเป็นที่จะต้องใช้ความยาวของเสาเข็มในอาคารที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นเราจึงมีความกังวลว่าโครงสร้างของชั้นดินนั้นจะเกิดการ CONSOLIDATE จนทำให้ในที่สุดตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นเกิดค่าระยะการทรุดตัวที่มีค่าแตกต่างกันได้ ซึ่งนอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว เรายังมีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมขอชมเชยเพื่อนท่านนี้ก่อนนะครับ เพราะ การที่เพื่อนท่านนี้เป็นกังวลในประเด็นนี้แสดงว่ามีความรู้ทางด้านงานวิศวกรรมธรณีเทคนิคมากพอสมควรเลยนะครับ และ เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นว่าเหตุใดเหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ ในฐานราก F1 จริงๆ แล้วคือตัว เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) ซึ่งจะเป็นรายละเอียดที่มีความแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ นะครับ ขอเท้าความกันสักเล็กน้อยนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม … Read More

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมได้นำเทคนิคการก่อสร้างง่ายๆ อย่างหนึ่งมาฝากเพื่อนๆ นะครับ ถึงแม้ว่าจะง่ายๆ แต่ผมเชื่อเหลือเกินว่าจะมีประโยชน์ต่อการทำงานของเพื่อนๆ ในระดับหนึ่งเลยครับ นั่นก็คือ “การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก” นั่นเองนะครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความสงสัยกันใช่มั้ยครับ ว่าการคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไรกันนะ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 33