ความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามมาหลังไมค์กับผมว่า “มีความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะดังรูป โดยจะเห็นได้ว่ามีเสาเข็มเจาะต้นเล็ก (เส้นประสีดำ) นั้นวางซ้อนตัวอยู่ภายในเสาเข็มเจาะต้นใหญ่ (เส้นประสีแดง) อยากสอบถามผมว่ากรณีของเสาเข็มดังรูปนี้ถือว่าใช้ได้หรือไม่ครับ?” ก่อนอื่นเลย ผมต้องขอออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า … Read More

การใช้สารเคมีเข้าช่วยในการทำงานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? คือ เรามีโครงสร้างคอนกรีตเดิมอยู่ แต่ มีความจำเป็นที่จะต้องทำงานคอนกรีตใหม่ลงไปบนโครงสร้างคอนกรีตเดิมนี้ เช่น มีความจำเป็นที่จะต้องทำการแก้ไขงาน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ คือ กรณีที่เพื่อนๆ มีความจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะ หรือ ทำช่องเปิดบนโครงสร้างคอนกรีต ไม่ว่าโครงสร้างๆ นั้นจะเป็นโครงสร้าง … Read More

ขนาดของอุโมงค์ลม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง “อุโมงค์ลม” ไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อนี้กันเพิ่มเติมในหัวข้อ “ขนาด” ของอุโมงค์ลมกันอีกสักนิดก็แล้วกันนะครับ สาเหตุที่ผมนำประเด็นๆ นี้มาพูดเพิ่มเติม … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องการนำทฤษฎีเรื่อง INFLUENCE LINE มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างสะพาน ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ หลายๆ ท่านให้ความสนใจ และ มีคำถามตามมาด้วยว่า อยากทราบวิธีในการสร้างตัวแผนภูมิ INFLUENCE … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ หากว่าเพื่อนๆ ที่เป็น วิศวกรโครงสร้าง หรือ วิศวกรเทคนิคธรณี จะต้องทำการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) หรือ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาเมื่อต้องมีการทำช่องเปิดใน แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล หล่อในที่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก และ ยังถือได้อีกว่ากรณีๆ นี้เป็นกรณีที่ผู้ทำการก่อสร้างอาจที่จะพบเจอได้บ่อยมากๆ เมื่อต้องทำงานโครงสร้าง คสล อีกด้วย … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์อธิบายเพื่อนๆ ให้เข้าใจถึงเหตุผลว่า เพราะ เหตุใดหน้าตัดของโครงสร้าง คอร นั้นจึงมีความแข็งแรง สามารถที่จะ รับ นน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากที่ผ่านมานั้นผมมักที่จะได้รับคำถามจากเพื่อนๆ ของผมมาอยู่อย่างตลอดต่อเนื่องว่า “เพราะเหตุใดโครงสร้าง คอร จึงมีความแข็งแรงมากกว่าโครงสร้าง คสล ?” หรือ “อยากให้ผมอธิบายว่ากลไกใดคือกลไกหลักของการที่ทำให้โครงสร้าง … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าเมื่อเพื่อนๆ วิศวกรของเราต้องทำการออกแบบคานเหล็ก (STEEL BEAM) สักคานหนึ่ง สิ่งที่เพื่อนๆ ทุกๆ คนมักที่จะรู้สึกได้ว่ามีความยุ่งยาก แต่ … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 33