การเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ก่อนที่คอนกรีตจะเริ่มแข็งตัว

การเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ก่อนที่คอนกรีตจะเริ่มแข็งตัว การสร้างอาคารใหม่ จำเป็นจะต้องมีการควบคุมการทำงานโดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อลดปัญหาการแตกร้าวของคอนกรีต ที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น แต่บางครั้งการเทคอนกรีตไม่ถูกวิธีก็อาจจะสร้างรอยร้าวขึ้นมาได้ ซึ่งรอยร้าวชนิดนี้จะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 2 – 8 ชั่วโมง ภายหลังจากการเทคอนกรีต โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดรอยแตกร้าวชนิดนี้แบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้ดังนี้ – การขยับตัวของแบบหล่อคอนกรีต (Form or Subgrade … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการเรียงลำดับขั้นตอนในการทดสอบดินและโครงสร้างเสาเข็มในงานก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ งานโครงสร้างฐานรากแบบลึก หรือ DEEP FOUNDATION … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” รูปแบบของโครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นในการรับแรงที่มีความน่าสนใจ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณช่วงประมาณปลายปีที่แล้วที่ผมได้พาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับคุณลักษณะต่างๆ ของจุดต่อที่สามารถจะแบ่งออกได้ตามประเภทหลักๆ ของ โครงสร้างของหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE ทั้ง 3 ประเภทซึ่งจะประกอบไปด้วย … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณหาว่าค่าความเครียดเกิดขึ้นตอนที่เกิดค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตซึ่งถูกโอบรัดทางด้านข้างสูงสุดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมทำการสมมติว่าหน้าตัดของโครงสร้างเสาต้นนี้มีค่า C เท่ากับ 0.85 ส่วนค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดและถูกโอบรัดทางด้านข้างนั้นจะมีค่าเท่ากับ 210 KSC … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม โดยที่รูปที่ผมได้ใช้ในการโพสต์นั้นเป็นรูปของโครงสร้างคาน คสล … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าต่างๆ และวิธีในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อประมาณช่วงต้นเดือนก่อนหน้านี้ซึ่งเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EAULER’S CRITICAL LOAD ซึ่งพวกเรานิยมเขียนแทนสั้นๆ ด้วยตัวอักษรย่อว่า Pcr ได้มีเพื่อนผมบนเฟซบุ้คท่านหนึ่งและเค้าก็บังเอิญว่าเป็นแฟนเพจของเพจเราด้วยได้ฝากคำถามเข้ามาว่า … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” วิธีเบื้องต้นในการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาผมมีโอกาสเดินทางไปตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานและบังเอิญไปพบเจอกับปัญหาๆ หนึ่งที่วิศวกรโครงการได้นำเอามาปรึกษากับผม เรื่องนี้ก็คือ จะแก้ปัญหาอย่างไรดีหากว่าค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ทำการทดสอบได้นั้นออกมามีค่าต่ำกว่าที่เราได้ทำการออกแบบเอาไว้ ซึ่งผมก็ได้ให้คำแนะนำในเบื้องต้นกับวิศวกรท่านนี่ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยหากผมนำเอาประเด็นๆ นี้มาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นเลยผมต้องบอกกับเพื่อนๆ ไว้ก่อนว่า … Read More

ที่มาและความสำคัญ ของสมการในการคำนวณหาระยะความลึกประสิทธิผลน้อยที่สุด ในหน้าตัดโครงสร้างคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ผมมีคำถามเข้ามาจากแฟนเพจที่เป็นน้องวิศวกรซึ่งเป็นผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับสมการที่ใช้ในการตรวจสอบหาว่า ระยะความลึกประสิทธิผลน้อยที่สุด หรือค่า EFFECTIVE DEPTH ซึ่งเรามักจะแทนค่าด้วยตัวย่อว่า dmin ที่หน้าตัดของโครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีความต้องการนั้นมีที่มาที่ไปของสมการคำนวณจากอะไร ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในทันทีเลยว่า ก็มาจากสมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าอัตราส่วนของเหล็กเสริมรับแรงดึงหรือสมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงนั่นแหละ ผมเลยคิดว่าจะเอาคำตอบที่ผมได้ตอบน้องท่านนี้เอามาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ด้วยก็น่าที่จะเป็นการดีนะครับ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินชนิดพิเศษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินชนิดพิเศษ กล่าวคือเราจะทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรามีความต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนบกเหมือนกันกับกรณีของงานก่อสร้างทั่วๆ ไปนั่นก็คือ งานประเมินกำลังของโครงสร้างประเภทที่เป็นท่าเทียบเรือน่ะครับ สาเหตุที่ผมเรียกการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ว่าเป็นการทดสอบชนิดพิเศษก็เพราะว่า เราไม่สามารถที่จะทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ … Read More

1 2 3 4 5 33