การเป่าทราย SANDBLAST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เมื่อวานนี้ผมเพิ่งมีโอกาสเดินทางไปจังหวัดชุมพรเพื่อไปทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้ในโครงการเปิดใช้งานโรงงานเก่าแห่งหนึ่ง ซึ่งหนึ่งในงานที่ผมจะต้องรับผิดชอบก็คือ เราจะต้องนำสนิมออกจากตัวโครงสร้างเหล็กเดิมออกทั้งหมดด้วย ผมจึงคิดว่าวันนี้ผมจะมานำเทคนิคในการนำสนิมออกจากตัวโครงสร้างเหล็กให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบด้วยก็น่าจะเป็นการดี เทคนิคที่ว่าก็คือการทำ SANDBLAST นะครับ … Read More

โครงสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป (PRE-CAST CONCRETE STRUCTURE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หากว่าวันนี้ผมพูดถึงคำว่า โครงสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป (PRE-CAST CONCRETE STRUCTURE) ผมคิดว่าพวกเราหลายๆ คนคงจะมีความคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างเสาเข็มสำเร็จรูป โครงสร้างคานสำเร็จรูป … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายข้อสอบใบประกอบวิชาชีพที่ออกโดยสภาวิศวกรเรื่อง พฤติกรรมการรับแรงของโครงสร้างโครงถัก ว่าเราสามารถที่จะสังเกตดูว่า แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างโครงถักใดที่เป็น แรงดึง (TENSION FORCE) หรือ แรงอัด (COMPRESSIOB … Read More

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างในรูปๆ นี้ได้วิบัติไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงสร้างๆ นี้อยู่ในรูปแบบที่สูญเสีย เสถียรภาพ และ … Read More

เรื่องของ “ไข่” หรือ “Eggs”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมมีสาระสั้นๆ แต่น่าจะเป็นความรู้ที่มีประโยชน์กับเพื่อนๆ ทุกๆ คนที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องของ “ไข่” หรือ “Eggs” มาฝากกัน เพราะ หากเรามีโอกาสต้องเดินทางไปต่างประเทศและจำเป็นต้อง … Read More

สภาวะกำลังอัดในช่วงสภาวะใช้งานเริ่มแรกและภายหลังจากที่ทำการดึงเส้นลวดเสร็จแล้วอัดแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่า ในการกำหนดเพื่อที่จะทำการออกแบบค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตรูปทรงทรงกระบอกมาตรฐาน (STANDARD CYLINDRICAL COMPRESSIVE STRENGTH) เมื่อต้องนำมาใช้ในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทคอนกรีตอัดแรง เช่น … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) นะครับ เนื่องจากมีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามาที่หลังไมค์เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ว่า “ที่ตำแหน่งของ จุดต่อ แบบยึดหมุนที่สามารถเคลื่อนทีได้ในแนวดิ่ง (VERTICAL … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ผมมีฐานราก คสล อยู่ 2 ฐาน นั่นก็คือฐานรากที่มีเสาเข็ม SPUN MICROPILE ขนาด … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า เพื่อนๆ มีโอกาสได้ไปเที่ยวสวนสาธารณะที่มีสระว่ายน้ำกว้างๆ เรามักจะพบว่าที่บริเวณขอบของสระว่ายน้ำ จะมีกำแพงกันดินที่กั้นระหว่างดินและน้ำอยู่เสมอ โดยหากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ ก็มักจะพบว่ากำแพงกันดินดังกล่าวนี้จะมีโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ดังรูป คำถามก็คือ ชิ้นส่วนโครงสร้างนี้คืออะไร และ … Read More

1 15 16 17 18 19 20 21 33