การทำงานเสาเข็มเจาะระบบแห้ง หรือ DRY PROCESS BORED PILE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำ ตย CASE STUDY กรณีของงานออกแบบงานหนึ่งที่ผมได้มีโอกาสไปพบเจอมาจริงๆ เล่าสู่กันฟังให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบเพื่อเป็นวิทยาทาน โดยเรื่องนี้จะเกี่ยวข้องกับ … Read More

เฉลยคำตอบข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 94

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า   ข้อที่ 94   จงคำนวณหาโมเมนต์ดัดที่กระทำต่อคานของภาคตัดที่ผ่านจุด C ดังแสดงในรูป   เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้นอกจากการมองให้ออกว่าโครงสร้างนั้นๆ จะสามารถที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้โดยวิธี … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมมีประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งที่หลายๆ คนยังอาจจะไม่ค่อยเข้าใจวิธีในการนำไปใช้เท่าใดนัก นั่นก็คือเรื่อง Parts of Speech หรือ ส่วนต่างๆ ของคำพูด … Read More

การเชื่อมมุม หรือ FILLET WELD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อสองวันก่อนมีลูกค้าเก่าของผมที่น่ารักของผมท่านหนึ่งได้ติดต่อเข้ามาอยากให้ผมไปรับงานการตรวจสอบรอยเชื่อมในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง ก็ได้มีการสนทนาว่าต้องการที่จะให้ผมทำการตรวจสอบอย่างไร มีอะไรเป็นเกณฑ์บ้าง ผมก็ได้ให้คำแนะนำกับคุณลูกค้าท่านนี้ไป ผมจึงคิดว่าจะนำเรื่องๆ นี้มาบอกอธิบายต่อ เผื่อว่าเพื่อนๆ ท่านใดอาจจะยังไม่ทราบหรืออาจจะยังไม่เข้าใจประเด็นนี้ก็จะได้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 65

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 65 ค่า kL/r ของแกนที่แข็งแรงและแกนที่อ่อนแอของหน้าตัดเสาเหล็กรูปพรรณ W200x21.3 ที่มีการค้ำยันบนแกนที่แข็งแรงเท่ากับ 6 ม และบนแกนที่อ่อนแอเท่ากับ 4 … Read More

เฉลยคำตอบข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 130

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 130 คานช่วงเดียวธรรมดายาว L รับน้ำหนักแบบจุด Pu ที่กึ่งกลางคาน ถ้าคานนี้ทำค้ำยันทางข้างที่ปีกรับแรงอัดที่ปลายทั้งสองและที่กึ่งกลางคาน จงใช้วิธี LRFD หาค่าสัมประสิทธิ์ของโมเมนต์ดัด … Read More

การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE SLUMP TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการทำงานคอนกรีต แต่ ก็ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ อย่างละเลยไม่ได้เลยนะครับ นั่นก็คือ การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE … Read More

สาเหตุของการที่แนวกำแพงรั้วนี้เกิดการ วิบัติ หรือ ล้มลง ไปในทิศทางดังกล่าวนั้น เกิดจากสาเหตุใดเป็นหลัก ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้จากในรูปว่ามีแนวกำแพงรั้วกั้นตลอดความยาวของที่ดิน และ เราจะพบเห็นได้อีกด้วยว่าแนวกำแพงรั้วดังกล่าวนั้นได้เกิดการ วิบัติ … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) “Effect” และ “Affect”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ คงที่จะเคยได้ยินคำว่า “Effect” และ “Affect” กันมาบ้างใช่หรือไม่ครับ ? ทราบหรือไม่ครับว่าจริงๆ แล้วคำสองคำนี้ใช้ … Read More

การล้าตัวของวัสดุโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ   วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับศัพท์ทางด้านวิศวกรรมที่เพื่อนๆ น่าที่จะได้ยินอยู่บ่อยๆ จนคุ้นหูกันดีอยู่แล้ว แต่ ผมก็เชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 33