ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง … Read More

ข้อแนะนำสำหรับ จำนวน และระดับความลึก ของหลุมเจาะที่ทำการทดสอบคุณสมบัติของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงข้อแนะนำสำหรับ จำนวน และ ระดับความลึก ของหลุมเจาะที่จะทำการทดสอบคุณสมบัติของดิน ทั้งนี้ก็เพื่อนำผลจากการทดสอบมาใช้ในการออกแบบฐานรากและเสาเข็ม ให้แก่เพื่อนๆ ทุกท่านได้รับทราบกันนะครับ   จริงๆ แล้วเรื่องของการกำหนดขนาดของความลึกและตำแหน่งของการสำรวจตัวอย่างดินนั้นจะขึ้นอยู่กับลักษณะความแปรปรวนของชั้นดินเป็นหลักเลยนะครับ … Read More

วิธีในอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูล ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมจะขอทำการแทรกเนื้อหาการนำผลการทดสอบดินที่ผมไปพบมาจากการทำงานจริงๆ ของผมมาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับ โครงการก่อสร้างแห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซอยของถนนรามคำแหง ซึ่งหากดูแบบหยาบๆ และผิวเผินแล้วก็อาจจะพบว่าสภาพของชั้นดินนั้นน่าที่จะมีความปกติเพราะดินเดิมนั้นเป็นดินที่มีอยู่เดิม และ จะมีส่วนดินใหม่ที่เปผ้นดินถมที่ผิวซึ่งมีความหนาประมาณ 1.5-2 ม … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 18 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 17 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันแรกที่ผมจะเริ่มต้นถึงหัวข้อนี้อย่างจริงๆ จังๆ ผมจึงจะขอเริ่มต้นจากเรื่องพื้นฐานๆ ก่อนเลยก็แล้วกันซึ่งในวันนี้ผมจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงวัตถุประสงค์ของการทำการเจาะสำรวจดิน หรือ BORING LOG นั่นเองนะครับ   จริงๆ … Read More

ความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเจาะเสียบ พุกเหล็ก หรือ สลักเกลียวเคมี หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า CHEMICAL ANCHOR BOLT เข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตเดิม โดยที่สลักเกลียวนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 16 มม โดยผมขอสมมติว่าผมจะใช้ตัวเคมีภัณฑ์ … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เพิ่งจะผ่านพ้นมาไม่นานมานี้ นั่นก็คือเหตุการณ์ที่มีรถชนเข้ากับตัวราวกันตก คสล ที่ทำหน้าที่กั้นระหว่างถนนและคลอง ซึ่งผลปรากฏว่าราวกันตก คสล นั้นเกิดการวิบัติจนในที่สุดก็ทำให้รถนั้นตกลงไปในคลองจนทำให้มีผู้เสียชีวิตในเวลาต่อมานั่นเองนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมไมได้จะมากล่าวถึงเหตุการณ์ๆ นี้ในแง่ใดแง่หนึ่งเป็นพิเศษนะครับ ผมเพียงแค่อยากที่จะมาชี้ให้เห็นถึงรายละเอียดหนึ่งที่มีความสำคัญในการออกแบบโครงสร้างจำพวกราวกันตกเหล่านี้ว่าควรมีวิธีการและแนวคิดในการออกแบบเป็นอย่างไรเท่านั้นนะครับ   ก่อนอื่นผมต้องขอบอกเอาไว้ก่อนว่าหากมีเพื่อนๆ ท่านใดกำลังจะต้องทำการออกแบบโครงสร้างแบบนี้ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขอเริ่มต้นทำการอธิบายถึงในส่วนแรกก่อน นั่นก็คือ ขั้นตอนในการออกแบบและเตรียมการ สำหรับการทำงานการตอกเสาเข็มนะครับ … Read More

วิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้สามารถมีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อนนี้ว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อนะครับ   โดยในวันนี้ผมจะมาพูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 33