ระดับของน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเสวนาถึงคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไปเมื่อวานนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานและเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์ อธิบาย รวมถึงยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว โดยที่ปัญหาที่ผมได้ทำการหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างในวันนั้นและวันนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ เหมือนกันเกือบทุกประการยกเว้นเพียงสิ่งๆ เดียวนั่นก็คือ ปัญหาประจำสัปดาห์ในวันนี้ผมจะทำการเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่อง “ระดับของน้ำใต้ดิน” เพิ่มเติมเข้าไปด้วยนั่นเอง ซึ่งรายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้ก็คือ … Read More

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าว อันเนื่องมาจากการหดตัว ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   ก่อนอื่นผมจะขอเกริ่นเท้าความสักเล็กน้อยถึงเนื้อหาที่ผมเคยได้อธิบายไปก่อนหน้านี้สักเล็กน้อยนะครับ … Read More

การเปรียบเทียบผลการทดสอบดิน จากการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้าง และในขณะทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างกรณีศึกษาหนึ่งของการทำการทดสอบงานดินให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับกันนั่นก็คือ การทำการเปรียบเทียบผลการทดสอบดินจากการทำการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้างและในขณะที่ได้ทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริงๆ   เรามักจะไม่ค่อยได้พบเจอกับกรณีของการทดสอบดินแบบนี้ได้บ่อยนักนะครับ เพราะว่าโอกาสที่จะทำการทดสอบดินในลักษณะนี้จะพบเจอได้ค่อนข้างยากมากเลยทีเดียว ซึ่งส่วนใหญ่เราจะมีโอกาสพบเจอกรณีของการทดสอบแบบนี้ได้ในงานก่อสร้างโครงสร้างจำพวกเสาเข็มเจาะที่อยู่ในฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับตอม่อของสะพานในงานของทางราชการเสียเป็นส่วนใหญ่ครับ   ก่อนที่จะทำการก่อสร้างก็จะมีการทดสอบชั้นดินในบริเวณใกล้เคียงสถานที่ก่อสร้างนั้นๆ ก่อน เมื่อนำตัวอย่างดินเข้าห้องปฏิบัติการเสร็จเรียบร้อยทางวิศวกรธรณีเทคนิคก็จะทำการออกแบบเสาเข็มจากข้อมูลงานดินที่ได้เก็บขึ้นมานี้ก่อน … Read More

คานรับแรงดัด หรือ BEAM BENDING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว (L) … Read More

ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่   1.ฐานรากแบบตื้น … Read More

ข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้โพสต์อธิบายในเบื้องต้นถึงหลักในการประเมินในเรื่องของรายละเอียดต่างๆ ของหลุมทดสอบดินให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว เช่น เรื่องตำแหน่งในการทดสอบดิน เรื่องวิธีในการทดสอบดิน เรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน เป็นต้น เพราะฉะนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินกันบ้างนะครับ   อย่างที่ทราบกันดีนะครับว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ … Read More

หลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ก่อนที่จะเริ่มต้นทำการอธิบายถึงหลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา นั้นวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการกล่าวนำให้เพื่อนๆ ได้มีความรู้พื้นฐานกันสักเล็กน้อยเกี่ยวกับเรื่องชนิดของโครงสร้างที่มีชื่อว่า พื้น นี้กันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ   จริงๆ แล้วแผ่นพื้น … Read More

ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการคั่นเนื้อหาเรื่องการทดสอบชั้นดินเพื่อที่จะพูดถึงประเด็นเรื่องราวอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเพื่อเป็นวิทยาทานแก่เพื่อนๆ กันไปมากพอสมควรแล้ว วันนี้ผมคิดว่าเราน่าจะกลับมาพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องหลักของเรากันต่อจะดีกว่า ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาพูดถึงเรื่อง ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน นะครับ   ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดินนั้นสามารถที่จะทำการคัดแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ … Read More

ระดับของหัวเสาเข็ม ที่ควรใช้เพื่อทำการตรวจสอบระยะการหนีศูนย์ หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า PILE DEVIATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง BORING LOG กันสัก 1 อาทิตย์นะครับเพราะว่าผมเพิ่งไปประสบพบเจอเข้ากับเหตุการณ์ๆ หนึ่งโดยบังเอิญและคิดว่าน่าจะยังมีเพื่อนๆ อีกหลายๆ คนที่อาจยังไม่ทราบข้อเท็จจริงประการนี้ จึงตัดสินใจที่จะนำเอาประเด็นๆ นี้มาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 33