การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายและพูดเจาะลึกลงไปในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ระยะห่างระหว่างเสาเข็ม และ ลักษณะและประเภทของดินที่เสาเข็มจะต้องมีการฝังตัวลงไป เพิ่มเติมกันอีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ ทั้งนี้เราจะสามารถทำการจำแนกกำลังในการรับน้ำหนักของเสาเข็มแบบกลุ่มหรือ GROUP PILE ว่าจะมีกำลังในการรับน้ำหนักเท่ากับเท่าใด ก็จะขึ้นอยู่กับว่าเสาเข็มของเรานั้นมีการวางตัวอยู่ในดินที่จัดอยู่ในประเภทใดดังต่อไปนี้ … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าการโก่งตัวค่าสูงสุดของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งไปในสัปดาห์ที่แล้วว่า ในสัปดาห์นี้ผมจะมาทำการพูดถึงการใช้งาน แผนภูมิปฏิสัมพันธ์ หรือ INTERACTION GRAPH ในการคำนวณหาว่า เมื่อโครงสร้างเสาเข็มของเราจะต้องรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL LOAD … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในตอนแรกผมมีความตั้งใจว่าในสัปดาห์นี้ผมจะทำการโพสต์เนื้อหาที่มีความเกี่ยวเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES แต่เนื่องจากผมได้รับคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งอยากจะให้ผมทำการอธิบายว่า “หากมีการระบุเอาไว้ว่า เสาเข็มต้านหนึ่งๆ จะต้องมีความสามารถในการรับโมเมนต์ดัดหรือ … Read More

การรวมแรงเค้นโดยการแยกประเภทของแรงที่เกิดขึ้นที่แต่ละมุมของหน้าตัดโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากคำถามที่ผมได้นำมาใช้เป็นคำถามประจำสัปดาห์เกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาขอบเขตของ KERN POINT เมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมานั้น มีเพื่อนๆ ของผมหลายท่านเลยได้ฝากคำถามกันเข้ามาว่า หากเค้ายังไม่ค่อยเข้าใจเรื่องนี้ดีพอและอยากที่จะทำการรวมแรงเค้นหรือ COMBINE STRESS ของรูปโครงสร้างรูปนี้ โดยที่จะไม่อาศัยสมการที่ผมได้ให้ไว้ จะสามารถทำได้หรือไม่ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วิธีการตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างเสาเข็ม และวิธีในการกองเก็บที่ถูกต้องที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักท่านหนึ่งได้ไปทำงานการตอกเสาเข็ม คอร ชนิดทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและไปพบเจอเข้ากับความเสียหายของเสาเข็มก่อนที่จะนำมาใช้ในการตอกจริง พี่ท่านนี้จึงได้ทำการ REJECT เสาเข็มชุดนั้นไปหลายต้นเลย วันนี้ผมจึงได้ขออนุญาตรุ่นพี่ท่านนี้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของความเสียหายของเสาเข็มที่เราอาจจะพบเจอได้ที่หน้างานมาฝากเพื่อนๆ … Read More

จำนวนของเสาเข็มที่จะต้องใช้ในงานการก่อสร้างบ้านหรืออาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในฐานะที่ผมเป็นหนึ่งในทีมงานของแอดมิน คำถามๆ หนึ่งที่ผมมักจะสังเกตเห็นได้จากอินบ็อกซ์ของทางเพจซึ่งส่วนใหญ่แล้วบรรดาแฟนเพจเหล่านั้นก็มักที่จะเป็นผู้หญิงด้วย ตัวอย่างเช่น หากอยากที่จะทำการก่อสร้างหรือต่อเติมอาคารหรือบ้านเรือนซึ่งจะมีขนาดพื้นที่เท่ากับ ……………………. ตารางเมตรต่อชั้น ทั้งหมดจำนวน ……………………. ชั้น อยากจะทราบว่าจะต้องใช้เสาเข็มไมโครไพล์ทั้งหมดจำนวนกี่ต้นหรืออยากจะทราบว่าจะต้องใช้ความยาวของเสาเข็มไมโครไพล์เท่ากับเท่าใดกันแน่ เป็นต้น … Read More

ปัญหาการคำนวณหาระยะในการยกที่จะส่งผลดีที่สุดต่อหน้าตัดของแท่งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ ต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง พื้นฐานการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากปัญหาที่ผมได้ทำการตั้งเป็นคำถามประจำวันเสาร์ที่ผ่านมาซึ่งผมได้ถามเพื่อนๆ ไปว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเคลื่อนย้ายโดยที่ผมจะใช้วิธีการยกแท่งคอนกรีตขนาดความยาวเท่ากับ 20 เมตร ซึ่งมีน้ำหนักเท่ากับ 2 ตัน … Read More

เพราะเหตุใด เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่ยังคงค้างมาตั้งแต่ปีที่แล้วเกี่ยวกับเรื่องที่มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้สอบถามผมเข้ามาว่า   “อยากที่รบกวนขอให้อาจารย์ช่วยทำการอธิบายให้หน่อยว่าเพราะเหตุใดเสาเข็มไมโครไพล์ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการ “สปัน” เสาเข็มด้วยครับ ?”   จริงๆ แล้วคำถามๆ … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksh นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อเนื่องจากค่า Ksv ที่เราได้ทำการคำนวณไปเป็นที่เรียบร้อยในครั้งที่แล้ว โดยที่วิธีการที่เราจะนำมาใช้ในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งหรือว่าสติฟเนสในการต้านทานแรงกระทำทางด้านข้างของดินนั้นเราสามารถที่จะทำการคำนวณได้จาก Ksh = Kh … Read More

ปัญหาเรื่องจำนวนสามเหลี่ยมทั้งหมดในรูปห้าเหลี่ยม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายของวันเสาร์แบบนี้ เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสรับฟังถึงเรื่องราวเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับคำถามๆ หนึ่งที่คุณครูได้ใช้ในการสอบถามเด็กนักเรียนในชั้นเรียน ซึ่งคำตอบข้อนี้ถือได้ว่ามีความน่าสนใจเป็นอย่างมากเลยทีเดียว โดยที่โจทย์ปัญหาในวันนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ครับ ผมอยากจะถามเพื่อนๆ ว่าจากรูป “5 เหลี่ยม” รูปนี้จะมีรูป “3 เหลี่ยม” อยู่ทั้งหมดกี่รูป ?   (1) 10 … Read More

1 7 8 9 10 11 12 13 33