ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต – วัสดุมวลรวม ได้แก่ หิน ทราย แร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ รูปร่างลักษณะของผิวและส่วนคละของวัสดุมวลรวมมีผลต่อการออกแบบส่วนผสม สัมประสิทธิ์การนำความร้อน DRYING … Read More

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน ยางมะตอย ก็คือ วัสดุที่สกัดได้จากน้ำมันดิบ มีลักษณะเป็นสีดำ มีความเหนียว และความหนืดที่ค่อนข้างจะต่ำ ยางมะตอยนิยมใช้ในงานการก่อสร้างทางและถนนเป็นหลัก โดยที่จะใช้เป็นวัสดุปิดทับที่ผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยก็คือจะทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุหยาบ เช่น หิน ทราย เป็นต้น โดยจะช่วยทำให้การผสมนั้นเข้ากันจนเป็นเนื้อเดียวกันได้ดียิ่งขึ้น โดยวัสดุที่ถูกนำมาใช้ในการเทผิวหน้าของถนนนั้นจะมีชื่อเรียกแบบเต็มๆ ว่า แอสฟัลท์ติกคอนกรีต หรือ … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่ คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ 1. คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน(Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น สำหรับฐานรากประเภทนี้ตัวโครงสร้างของฐานรากเองนั้นจะมีความยืดหยุ่นตัว หรือ สามารถที่จะมีการเคลื่อนตัวได้ หากทำการผนวกเอาวิชาทางด้านวิศวกรรมฐานรากตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ENGINEERING เข้ากันกับทฤษฎีของโครงสร้างหรือ THEORY OF STRUCTURES สามารถที่จะทำการแทนให้แรงปฏิกิริยา ณ จุดรองรับของฐานรากประเภทนี้อยู่ในรูปแบบของแรงลัพธ์ที่เกิดจากสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวหรือว่า ELASTIC SPRING ได้ ซึ่งแรงลัพธ์ของสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวนี้จะสามารถจำแนกออกได้เป็น … Read More

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก)

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก) เมื่อเทคอนกรีตเสร็จแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้เอง แต่ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ถ้าต้องการให้คอนกรีตมีคุณภาพที่ดี มีความแข็งแรงทนทาน และใช้งานได้นาน ต้องทำการบ่มคอนกรีตเสียก่อน ซึ่งเมื่อผสมคอนกรีตต้องใช้น้ำในการผสม จะทำให้เกิดปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชันทำให้คอนกรีตแข็งตัวและรับกำลังได้ ปกติแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้ภายใน 5 –6 ชั่วโมง ภายหลังจากการผสมน้ำ และมีกำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเพิ่มกำลังของคอนกรีตไม่สามารถแยกได้ด้วยการดูจากตาเปล่า คือไม่สามารถบอกได้ว่าคอนกรีตที่เทพื้น กับคอนกรีตที่เทคาน … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต ก่อนการเทคอนกรีตทุกครั้ง ควรต้องทำการตรวจสอบค่าการยุบตัวของ ตัวอย่างคอนกรีต ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143/C143M ในภาษาอังกฤษ คือ STANDARD TEST METHOD FOR SLUMP OF HYDRAULIC-CEMENT CONCRETE โดยเมื่อทำการเก็บ ตัวอย่างของคอนกรีตมาทำการทดสอบแล้ว … Read More

คอนกรีตกันซึม

คอนกรีตกันซึม คุณสมบัติ คอนกรีตชนิดนี้ เป็นคอนกรีตที่ถูกออกแบบมาให้มีความทึบน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ โดยมีค่าการซึมผ่านของน้ำในระดับต่ำ ตามมาตรฐาน DIN 1048 ส่วนผสมคอนกรีตประเภทนี้มีการผสมน้ำยาประเภทกันซึม ลดปริมาณน้ำที่ใช้ในส่วนผสม และหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ เหมาะสำหรับงานที่ต้องการป้องกันการซึมผ่านของน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ … Read More

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา” ในทุกงานก่อสร้างย่อมต้องเจอกับปัญหา ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่ เพราะงานก่อสร้างจำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าคนงาน คนงาน ผู้รับเหมาหลัก ผู้รับเหมาย่อย ผู้ควบคุมงาน ผู้จัดการโครงการ เป็นต้น ยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดจาก … Read More

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง ลักษณะของดินสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ โดยลักษณะความแตกต่างกันของดินทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ขนาดของเม็ดดิน และคุณสมบัติของค่า c หรือ ค่าหน่วยแรงยึดเหนี่ยวของมวลดิน และค่า Ø หรือ ค่ามุมเสียดทานภายในของมวลดิน ดิน 2 ประเภทดังกล่าวจะประกอบด้วย … Read More

ต่อเติมโครงสร้างงบไม่บานปลาย เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile

ต่อเติมโครงสร้างงบไม่บานปลาย เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile การก่อสร้างเพื่อต่อเติมอาคารอย่าลืมว่าต้องคำนึงถึงผลกระทบของส่วนโครงสร้างเดิม เพราะถ้าวางแผนอย่างไม่ถูกต้องแทนที่่จะได้ต่อเติมกลับต้องมานั่งซ่อมแซมโครงสร้างเดิม เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้นเพื่อไม่ให้การต่อเติมอาคารมีผลกระทบต่อการใช้งานในระยะยาว ควรจะให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรเป็นผู้ออกแบบวางแผนการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างในอนาคต ทั้งนี้เสาเข็มที่เลือกใช้ควรมีเครื่องหมายมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้เป็นอย่างดี ภูมิสยามขอแนะนำ “เสาเข็มสปันไมโครไพล์” เสาเข็มมีลักษณะเป็นรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ เพื่อให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแรง … Read More

1 2 3 4 33