หลักการในการประเมินใช้ LOAD CASE สำหรับการคำนวณเรื่อง DEFLECTION

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ยุ่งอีกตามเคยนะครับ เลยมาพบเพื่อนๆ ช้าอีกหนึ่งวัน ก่อนที่ผมจะอธิบายต่อถึงขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA อย่างที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ ไว้เมื่อวานนะครับ ในวันนี้ผมจะขอมาอธิบายเรื่องหลักการในการประเมินใช้ LOAD CASE สำหรับการคำนวณเรื่อง DEFLECTION … Read More

การคำนวณหาค่าการโก่งตัวในโครงสร้าง คสล

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1364996836879771   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ผมเชื่อว่าในหลายๆ วันที่ผ่านมาผมได้อธิบายรายละเอียดต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อให้เพื่อนๆ สามารถที่จะทำการคำนวณหาค่าการโก่งตัวในโครงสร้าง คสล ได้แล้วนะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากจะมาแสดงโปรแกรมที่ผมเขียนไว้บนเครื่อง TI-92 Plus ซึ่งจะเป็นโปรแกรมช่วยในการคำนวณหาค่า PARAMETER ต่างๆ ที่มีความสำคัญเพื่อช่วยในขั้นตอนการคำนวณหาค่าการโก่งตัวให้สามารถทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้นนะครับ … Read More

การออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง”

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในช่วงสองวันที่ผ่านมานั้นผมไม่ได้มาพบปะพูดคุยกับเพื่อนๆ เหมือนเช่นเคยเพราะผมติดภารกิจงาน “ช่วย” คือ ผมต้องไปช่วยงานแก้ไขงานออกแบบอยู่งานหนึ่ง ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง ผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงขออนุญาตนำมาเล่าสู่กันฟังนะครับ เรื่องๆ นี้คือ น้องท่านนี้พบปัญหาในการออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง” งงมั้ยครับ ? … Read More

เราต้องการออกแบบให้การหันทิศทางของ MAJOR AXIS ในคาน H-BEAM

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากที่ผมได้โพสต์ไปเมื่อวันก่อนก็ได้รับคำถามหลังไมค์มาค่อนข้างเยอะนะครับว่า หากเราเป็นผู้ออกแบบโครงการนี้ และ เราต้องการออกแบบให้การหันทิศทางของ MAJOR AXIS ในคาน H-BEAM ออกไปทางด้านคานยื่นด้วยเหตุผลบางประการจะทำได้หรือไม่ ? หากทำได้เราจะหลีกเลี่ยงผลการวิเคราะห์โครงสร้างมิให้ออกมาดังที่ผมได้เตือนไปได้ด้วยวิธีการใดได้บ้าง ? ผมขอตอบก่อนนะครับว่า … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1370505116328943:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล และเมื่อวานนี้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอดี ผมเห็นว่าเนื้อหานั้นน่าสนใจจึงตัดสินใจนำมาบอกเล่าต่อแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ น้องท่านนี้ถามผมว่า จากที่ผมได้ระบุว่าวิธีการประมาณค่า STIFFNESS ตาม มยผ 1302 หน้าที่ 50 โดยใน … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีการวาง PATTERN LOAD

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องท่านหนึ่งที่ผมติดเค้าไว้นานแล้วนะครับ นั่นก็คือเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีการวาง PATTERN LOAD เพื่อนๆ หลายๆ คนคงจะสงสัย หรือ อาจไม่เคยได้ยินคำๆ นี้ใช่มั้ยครับ ? คำว่า PATTERN … Read More

การเสริมกำลังในโครงสร้างของคาน คสล

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้ไปฟังการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างพิเศษ โดยท่าน อ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ และทีมงาน MICROFEAP ผมพบว่าเนื้อหาในการบรรยายของท่าน อ มีประโยชน์มากๆ ครับ … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

งานดีดบ้าน อาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี

ตัวอย่างงานที่ใช้เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เป็นงานซ่อมแซมอาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ซึ่งทรุดโทรมมากเพราะมีอายุหลายสิบปีเริ่มตั้งแต่สร้างมา และผ่านเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่มาหลายรอบ ทางสำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ต้องการที่จะอนุรักษ์อาคารไม้หลังเก่าเอาไว้ จึงได้ให้ผู้รับเหมาเข้ามาปรับปรุงอาคารไม้หลังนี้ แอดมินเห็นว่างานนี้เป็นงานที่น่าสนใจมากในการนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์มาใช้ ก็เลยนำมาเขียนเป็นตัวอย่างให้ดูกันครับ ผู้รับเหมาที่รับผิดชอบงานนี้ก็เลยนำเอา เหล็กเอชบีม (H-Beam) มาใช้ทำเป็นโครงสร้างแทนโครงสร้างไม้ของเดิมที่เริ่มผุพัง … Read More

การเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST)

สภาพชั้นดินในหลายพื้นที่ของประเทศไทยนั้นอาจมีความแปรปรวนของชั้นดิน ทำให้สภาพพื้นที่แตกต่างไปจากพื้นที่ทั่วไป เช่น มีชั้นทรายหลวมผิดปกติ มีชั้นดินเหนียวอ่อน หรือระดับความลึกของชั้นดินที่แข็งแรงมีความผันแปรสูง เป็นต้น จากสภาพของชั้นดินดังกล่าว อาจทำให้ฐานรากเกิดการวิบัติได้ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายอย่างคาดไม่ถึง ก่อนที่วิศวกรจะทำการออกแบบฐานรากให้ดีและเหมาะสมนั้น จึงต้องจัดให้มีการเจาะสำรวจดินอย่างเพียงพอ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เพื่อการวิเคราะห์ดินจากประสบการณ์และการสังเกต เมื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับดินในส่วนใดแล้ว จะต้องมีการวางแผนการสำรวจดิน เพื่อให้ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย … Read More

1 3 4 5 6 7