การจัดลำดับการตอกเสาเข็ม หรือ PILING SEQUENCE

การจัดลำดับการตอกเสาเข็ม หรือ PILING SEQUENCE การจัดผังลำดับของการตอกเสาเข็มนั้นมีประโยชน์มากนะครับ ทั้งต่อตัว เสาเข็ม เองและต่อตัว ปั้นจั่นด้วยนะครับ เช่น ต่อตัวเสาเข็ม สำหรับงานอาคารสูง หากเราทำการจัดลำดับของการตอกเสาเข็มให้ดีๆ จะพบว่าสามารถช่วยเรื่องการที่เสาเข็มจะเกิดการ หนีศูนย์ (PILE DEVIATE) ได้เยอะมาก เนื่องจากในโครงการหนึ่งๆ จำนวนเสาเข็มที่ใช้นั้นมีปริมาณที่ค่อนข้างมากอยู่ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D คือ ระยะเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ เพราะ หากให้ระยะนี้น้อยกว่า 3 เท่าของ D จะทำให้แรงเค้นในมวลดินนั้นเกิดการซ้อนทับกัน … Read More

UPLIFT FORCE

ปัจจัยที่ผู้ออกแบบหลายๆ คนมักจะลืมคำนึงถึงในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสระว่ายน้ำก็คือเรื่อง แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ ศัพท์ทางเทคนิคที่เรานิยมเรียกกันจนติดปากว่า UPLIFT FORCE ท่านใดกำลังทำงานออกแบบงานจำพวกสระน้ำ ถังเก็บน้ำ ที่มีลักษณะของโครงสร้างที่อาจจะจมอยู่ใต้ดินทั้งหมด หรือ แค่เพียงบางส่วน ก็แล้วแต่ ทั้งหมดที่ผมได้กล่าวถึงนี้ก็ล้วนแล้วแต่ต้องคำนึงถึงสภาวะๆ นี้แทบทั้งสิ้นนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออธิบายกับเพื่อนๆ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะไม่ให้เพื่อนๆ นั้นเกิดความสับสนก่อนนะครับว่า แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING เราจะต้องทำการคำนวณค่า LATERAL STIFFNESS จากสัดส่วนของค่า VERTICAL STIFFNESS  สำหรับในกรณีที่เรานั้นไม่มีข้อมูลการทดสอบชั้นดิน (SOIL LABORATORY … Read More

การแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

การแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก เป็นต้น โดยหากในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มนั้นเกิดการแตกหัก หรือ เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไป เราก็อาจจะมีวิธีในการแก้ไขได้ด้วย 3 หลักการดังต่อไปนี้ (1) … Read More

วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสร้างเหล็ก

Mr.เสาเข็ม มาแล้วครับ มาพร้อมสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม กันอีกเช่นเคยนะครับ วันนี้ จะเป็นหัวข้อเรื่อง วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้าง คสล และ โครงสร้างเหล็ก วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสร้างเหล็ก ซึ่งได้แก่วัสดุเหล็ก (STEEL MATERIAL) และ วัสดุคอนกรีต (CONCRETE MATERIAL) … Read More

การก่อสร้างคานชั้นล่างสุดของตัวบ้าน ถ้าหากใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่

เวลาบ่ายแบบนี้ ก็มาเจอกับ Mr.เสาเข็ม พร้อมความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะเป็นหัวข้อ การก่อสร้างคานชั้นล่างสุดของตัวบ้าน ถ้าหากใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่ ถ้าหากเราว่ากันตามหลักการทางด้านวิศวกรรมที่ถูกต้องแล้ว การทำงานหล่อคานที่ชั้นล่างนั้นจะอนุญาตให้ทำได้ก็ต่อเมื่อฐานรองรับที่ทำขึ้นเพื่อรับท้องคานนั้นมีความมั่นคง เกิดการทรุดตัวที่ไม่แตกต่างกัน มีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรับ น้ำหนัก ที่จะเกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่การทำงานในตอนต้นไปจนกระทั่งกำลังของคอนกรีตในคานที่ชั้นล่างนี้จะสามารถรับกำลังได้ตามที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบเอาไว้ครับ มีความง่ายต่อการถอดแบบ และ การบ่มคอนกรีต ส่วนสาเหตุของการเลือกใช้การก่อด้วยอิฐบล็อกแทนที่การเทด้วย … Read More

การก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากและเกิดปัญหาเรื่องเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาแชร์ความเรื่องในการก่อสร้าง เกี่ยวกับ การก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากและเกิดปัญหาเรื่องเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ วันนี้ผมจะขอเริ่มต้นโดยการพูดถึงหลักการโดยทั่วๆ ไปในการพิจารณาออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากทั่วๆ ไปก่อนก็แล้วกันนะครับ หลักการในการทำงานออกแบบฐานรากโดยทั่วๆ ไปนั้น ในขั้นต้นนั้นวิศวกรผู้ออกแบบจะทำการออกแบบให้กลุ่มของโครงสร้างเสาเข็มให้มีความสมมาตร อันเนื่องมาจากการคำนวณในกรณีนี้จะทำให้ขั้นตอนในการออกแบบนั้นไม่ค่อยยุ่งยากและซับซ้อนเท่าใดนะครับ ในกรณีที่ฐานรากนั้นมีความสมมาตรดังรูป แรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้จากสมการ Ri = P/n ± My X … Read More

การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1354081564637965:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายต่อจากเนื้อหาเมื่อวาน คือ การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่ายนะครับ ก่อนอื่นผมขอทำความเข้าให้ให้ตรงกันเสียก่อนนะครับว่าเหตุใดเราจึงต้องทำการคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย เป็นเพราะว่าในทางทฤษฎีนั้นเรื่องทาง GEOTECHNICAL นั้นเป็นอะไรที่ซับซ้อนพอสมควร การที่จะทำการคำนวณค่าใดๆ จากดินให้แม่นยำถูกต้อง … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION

    ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1362646520448136   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน แอดมินต้องขอโทษเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วันนี้เพิ่งเลิกเรียนในวิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS เลยมาพบกันช้าไปสักหน่อย วันนี้ผมจะมาแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION … Read More

1 2 3 4 5 6 7