ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING

ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ของชิ้นส่วนโครงสร้างรับ แรงอัด คือค่า kL/r = 200 และ ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) ก่อนอื่นผมขอทวนคำถามก่อนสักนิดนะครับ “ประเภทของโครงถักใดที่จะสามารถรับ นน ในแนวดิ่งได้ดีกว่ากัน ?” และเมื่อวานผมได้อธิบายไปแล้วว่าเราควรที่จะสามารถทำการแบ่งโครงถักออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ (1) แบบที่ TOP … Read More

กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL

กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL ก่อนอื่นผมอยากจะขออนุญาตเท้าความให้แก่เพื่อนสมาชิกทั่วๆ ไปให้ได้ทำความรู้จักกันถึงกำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL กันพอสังเขปก่อนก็แล้วนะครับ กำแพงกันดินชนิด DIAPHRAGM WALL ก็คืองานโครงสร้างใต้ดินประเภทหนึ่งที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันนะครับ เป็นเทคนิคในการทำการก่อสร้างตัวกำแพงกันดินโดยที่ไม่ต้องอาศัย SHEET PILE เลย ซึ่งระบบการก่อสร้างนี้สามารถที่จะกันน้ำใต้ดินได้ดี และ สามารถดัดแปลงมาใช้กับเทคนิคการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดิน และ … Read More

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว ความยาวของเสาเข็มที่เราใช้นั้นเริ่มที่จะไม่ค่อยสอดคล้องกันกับข้อเท็จจริงๆ ที่เป็นแล้ว เพราะ หากว่าเราใช้ความยาวเสาเข็มที่มีความยาวมากๆ ปลายของเสาเข็มของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะหยั่งอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงจนสามารถที่จะเรียกได้ว่าเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทาน (END BEARING PILE) ได้นะครับ สรุปง่ายๆ คือ ต่อให้เราใช้เสาเข็มที่มีความยาวมากขนาดไหน ค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้ก็จะมีโอกาสที่จะออกมาต่ำกว่าความเป็นจริงค่อนข้างสูงนั่นเองนะครับ เรามาดูตัวอย่าง วันนี้กันดีกว่านะครับ โดยตัวอย่าง ในวันนี้เราจะมาดูเสาเข็มสี่เหลี่ยมตันขนาด สผก เท่ากับ … Read More

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER ค่าที่จะต้อง INPUT นั้นมีหลายตัว และ เมื่อวานผมได้เริ่มต้นทำการอธิบายวิธีการ INPUT วัสดุที่เป็นคอนกรีตไปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตอธิบายต่อด้วยค่า PARAMETER ของวัสดุที่เป็นเหล็ก (STEEL) กันบ้างก็แล้วกันนะครับ ก่อนอื่นเลยนะครับเราจำเป็นที่จะต้องทราบเสียก่อนว่า เหล็ก นั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ … Read More

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน จริงๆ แล้วประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากๆ ในการที่เราจะต้องใช้ในการทำการทดสอบดินของเราเลยนะครับ เพราะ หากเราเลือกความลึกของหลุมเจาะที่ตื้นจนเกินไป เราก็อาจนำผลจากการทดสอบนี้ไปใช้ในการออกแบบตัวฐานรากไม่ได้เลย เนื่องจากจริงๆ แล้วอาคารของเรานั้นจำเป็นที่จะต้องใช้ขนาดของเสาเข็มที่มีความยาวมากกว่านั้น และ หากว่าเราเลือกใช้ความลึกของหลุมเจาะที่มีความลึกที่มากจนเกินความจำเป็นที่เราต้องใช้จริงๆ ก็อาจจะกลายเป็นความสิ้นเปลืองมากจนเกินไปก็ได้ครับ ผมกล่าวมาถึงตรงนี้ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจที่จะพอมองภาพออกแล้วใช่มั้ยครับว่าประเด็นที่เราควรนำมาพิจารณาใช้ในการกำหนดขนาดความลึกของเสาเข็มนั้นคืออะไร ? ถูกต้องครับ ประเด็นนั้นก็คือ ขนาด และ … Read More

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ? เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ เราจะทำการแก้ไขปัญหานี้ได้ค่อนข้างยากเอาเรื่องอยู่นะครับ ดังนั้นหนทางที่ดีที่สุด คือ เราก็ควรที่จะป้องกันไม่ให้ปัญหานี้เกิดขึ้นก็จะเป็นการดีที่สุดนั่นเองนะครับ ผมขออนุญาตตอบคำถามเพื่อนท่านนี้ดังนี้ก็แล้วกันนะครับ นอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว ไม่ว่าจะโดยวิธี STATIC LOAD TEST หรือ … Read More

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน และ เมื่อดูจากผลการทดสอบดินจะพบว่าชั้นดินที่ปลายเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชนิดกัน เราควรที่จะเชื่อถือ ผลจากการตอกเสาเข็ม หรือ ผลการทดสอบตัวเสาเข็ม และ เราจะมีวิธีในการคิดและตัดสินใจใช้ความยาวของเสาเข็มนี้อย่างไร ? ผมต้องขอขยายความตรงนี้นิดหนึ่งก่อนนะครับ หากเราปล่อยให้ปลายของเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชั้นกัน และ ทำการควบคุมกระบวนการๆ ตอกเสาเข็มให้ได้จำนวน BLOW COUNT ที่ได้รับการออกแบบไว้แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีการคำนึงถึงผลจากการ ทดสอบชั้นดิน … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก วิธีการเสริม เหล็กนอน (MAIN REIFORCEMENT STEEL) ในฐานราก F2 F3 F4 และ F5 ที่ได้รับการออกแบบโดย BALANCE METHOD และ STRUT AND TIE METHOD … Read More

1 2 3 4 5 6 7