บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ เสาเข็มต่อเติมของเรา เป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิตเสาเข็มจนได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 71

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 71 จากโครงเฟรมที่แสดง แรงภายในตามแนวแกนของ CD เท่ากับ   เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้นอกจากการมองให้ออกว่าโครงสร้างโครงข้อแข็งของเรานั้นจะสามารถที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้โดยวิธี อย่างง่าย หรือ … Read More

โครงสร้างค้ำยันแบบรวมศูนย์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ วันนี้ผมเริ่มการนำเสนอผลงานวิจัยเป็นวันแรกจึงยุ่งมากๆ ไม่ค่อยมีเวลาไปไหนเลยแต่ขนาดไม่มีเวลา แค่ผมเดินขึ้นลงในอาคารที่มีการประชุมวิชาการก็มีโอกาสได้พบเจอโครงสร้างดีๆ ซึ่งผมจะนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้นั่นเองครับ … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นว่าเหตุใดเหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ ในฐานราก F1 จริงๆ แล้วคือตัว เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) ซึ่งจะเป็นรายละเอียดที่มีความแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ นะครับ ขอเท้าความกันสักเล็กน้อยนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม … Read More

1 85 86 87 88 89 90 91 168