เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ
เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมต่อเติมโรงงาน … Read More
ต่อเติมบ้าน ต่อเติมอาคาร ลานจอดรถ แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP
ต่อเติมบ้าน ต่อเติมอาคาร ลานจอดรถ แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้านกำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมฐานรากบ้าน คฤหาสน์ หรืออาคาร เพิ่มเติมจากเมื่อวาน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน … Read More
“ถาม-ตอบชวนสนุก” ตอบปัญหาการคำนวณค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ตามทฤษฎีของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับโดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างหนึ่ง ซึ่งที่ปลายด้านล่างนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดแน่นหรือ FIXED SUPPORT และที่ปลายด้านบนนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดหมุนหรือ PINNED … Read More
ฐานราก (FOOTING) แบ่งออกได้เป็นกี่ชนิด แต่ละชนิดมีอะไรบ้าง
ฐานราก (Footing) ทำหน้าที่รับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่เสาเข็มหรือดินโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานรากควรมีความสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกได้โดยไม่เกิดการเคลื่อนตัวหรือพังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุดตัวลงมากจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากซึ่งลึกจากระดับผิวดินน้อยกว่า หรือเท่ากับด้านที่สั้นที่สุดของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื้นดินท่ีมีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินท่ีตอกเสาเข็มไม่ลงหรืออย่างยากลำบาก เช่น … Read More