สร้างโรงงานใหม่ ต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)
สร้างโรงงานใหม่ ต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น … Read More
การออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง”
ref : https://www.facebook.com/bhumisiam สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในช่วงสองวันที่ผ่านมานั้นผมไม่ได้มาพบปะพูดคุยกับเพื่อนๆ เหมือนเช่นเคยเพราะผมติดภารกิจงาน “ช่วย” คือ ผมต้องไปช่วยงานแก้ไขงานออกแบบอยู่งานหนึ่ง ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง ผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงขออนุญาตนำมาเล่าสู่กันฟังนะครับ เรื่องๆ นี้คือ น้องท่านนี้พบปัญหาในการออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง” งงมั้ยครับ ? … Read More
การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ให้ลึกถึงระดับมาตรฐาน (BLOW COUNT)
การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม และความยาวของเสาเข็มนั้น ๆ
ปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ
ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอถึงเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนไปแล้วแต่ก็ยังมิวายมีเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนยังอินบ็อกซ์กันเข้ามาสอบถามผมว่า อยากที่จะเห็นตัวอย่างของรอยเชื่อมเหล่านี้ว่าแบบ ดี และ … Read More