บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีไหมและรับน้ำหนักได้เท่าไร คะ

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีไหมและรับน้ำหนักได้เท่าไร คะ เสาเข็มรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 ตัน/ต้น สามารถเข้าพื้นที่แคบได้ มีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. และที่สำคัญ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทำงานเสร็จไว – สวัสดีครับ … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spunmicropile) และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มคุณภาพ เหมาะกับการต่อเติมโรงงาน ที่ต้องการความมั่งคงแข็งแรงสูง

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spunmicropile) และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มคุณภาพ เหมาะกับการต่อเติมโรงงาน ที่ต้องการความมั่งคงแข็งแรงสูง ต่อเติมโรงงานด้วย เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ยกระดับมาตรฐานโรงงาน ด้วยการเลือกตอกเสาเข็มที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม สามารถตรวจสอบการรับน้ำหนักได้ และให้เป็นไปตามที่วิศวกรออกแบบ ภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ เราใส่ใจในทุกขั้นตอนการผลิต และติดตั้งเสาเข็ม … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksh นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อเนื่องจากค่า Ksv ที่เราได้ทำการคำนวณไปเป็นที่เรียบร้อยในครั้งที่แล้ว โดยที่วิธีการที่เราจะนำมาใช้ในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งหรือว่าสติฟเนสในการต้านทานแรงกระทำทางด้านข้างของดินนั้นเราสามารถที่จะทำการคำนวณได้จาก Ksh = Kh … Read More

1 41 42 43 44 45 46 47 168