บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมต่อเติมโรงงาน … Read More

ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก.

ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น … Read More

Puzzle112

Puzzle 112 วันนี้ Miss. Spunpile มีเกมส์จับผิดภาพมาให้ลองเล่นกันค่ะ เป็นการหาจุดแตกต่างของ 2 ภาพนี้ (มีจุดที่แตกต่างกันทั้งหมด 5 จุด) มีเฉลยอยู่ด้านล่าง แต่ห้ามเปิดดูก่อนนะคะ Miss Spunpile  Bhumisiam (ภูมิสยาม) บริษัท ภูมิสยาม … Read More

วิธีการออกแบบและก่อสร้างชิ้นส่วน ซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่ โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมมีรูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งผมเชื่อเหลือกเกินว่าพอผมพูดเช่นนี้ คงจะมีเพื่อนๆ ไม่น้อยที่สงสัยและอยากรู้ว่าเจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติได้อย่างไรกัน ?   … Read More

1 39 40 41 42 43 44 45 168