บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ฐานรากที่ต้องการมาตรฐานสูง แนะนำ สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ภูมิสยาม

ฐานรากที่ต้องการมาตรฐานสูง แนะนำ สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ภูมิสยาม ต้องการต่อเติม ขยายโรงงาน หรือสร้างใหม่แนะนำสปันไมโครไพล์แท้โดยภูมิสยาม เสาเข็มมีคุณภาพสูงจากการสปัน และมีมาตรฐาน มอก. 397-2524 สามารถตอกรับพื้นได้ถึงชั้นดินดาน เสาเข็มเราเป็นที่ยอมรับโดยบริษัทชั้นนำ ต้องการเสาเข็มเพื่อฐานรากโครงสร้างที่ได้มาตรฐานสูง ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro … Read More

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ

เสริมฐานรากโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมต่อเติมโรงงาน … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่   1.ฐานรากแบบตื้น … Read More

1 35 36 37 38 39 40 41 168