การออกแบบโครงสร้างเหล็ก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากหลายๆ วันที่ผ่านมาเราวนเวียนกันอยู่ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้าง คสล กันไปหลายเรื่องแล้ว วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ บ้างนะครับ เพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าในการออกแบบหน้าตัดเหล็กนั้น เราจะจำแนกหน้าตัดออกเป็น (1) หน้าตัดรับแรงดึง (2) หน้าตัดรับแรงอัด (3) หน้าตัดรับแรงดัด คำถามก็คือ หากหน้าตัดเกิดผสมผสานกันระหว่าง รับแรงดึงและแรงดัด กับ … Read More
เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เป็นที่นิยมในงานต่อเติมบ้าน
เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เป็นที่นิยมในงานต่อเติมบ้าน ต้องการตอกเสาเข็มที่สะดวกรวดเร็ว ไม่มีดินโคลน แนะนำ ตอกด้วยเสาเข็ม แนะนำ SPUN MICROPILE คุณภาพมาตรฐาน มอก.397-2524 – เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ … Read More
ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก การแก้ปัญหาโครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีดังกล่าวนั้นเป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก ซึ่งวิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย โดยเพียงแค่ทำการซ่อมแซมเฉพาะแค่รอยต่อระหว่างโครงสร้างพื้นทั้งสองโดยการใช้ยางมะตอยหรือ ASPHALT เป็นตัวเชื่อมและประสานปิดระหว่างรอยแยกดังกล่าวนี้ สาเหตุที่ผมได้แจ้งไปตอนต้นว่างบประมาณที่ต้องใช้ในการซ่อมแซมด้วยวิธีการนี้จะมีราคาที่ค่อนข้างต่ำนั้นเป็นเพราะว่า … Read More
ระดับของน้ำใต้ดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเสวนาถึงคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไปเมื่อวานนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานและเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์ อธิบาย รวมถึงยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว โดยที่ปัญหาที่ผมได้ทำการหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างในวันนั้นและวันนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ เหมือนกันเกือบทุกประการยกเว้นเพียงสิ่งๆ เดียวนั่นก็คือ ปัญหาประจำสัปดาห์ในวันนี้ผมจะทำการเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่อง “ระดับของน้ำใต้ดิน” เพิ่มเติมเข้าไปด้วยนั่นเอง ซึ่งรายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้ก็คือ … Read More