บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

มาใหม่!!! ภูมิสยามฯ จับมือกับกรุงเทพประกันภัย 7 Plus ประกันความค้มครองระหว่างการตอก เสาเข็มสปันไมโครไพล์ — ข่าวไทยรัฐ

มาใหม่!!! ภูมิสยามฯ จับมือกับกรุงเทพประกันภัย 7 Plus ประกันความค้มครองระหว่างการตอก เสาเข็มสปันไมโครไพล์ นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (กลาง) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมให้บริการตอกเสาเข็มด้วยนวัตกรรมสปันไมโครไพล์ พร้อมด้วยนายสุรวุฒิ จักขุทิพย์ (ที่ 2 … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ เราที่ได้ฝากผมเอาไว้เมื่อ 2-3 สัปดาห์ก่อนเรื่อง เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ?   จริงๆ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาเมื่อต้องมีการทำช่องเปิดใน แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล หล่อในที่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก และ ยังถือได้อีกว่ากรณีๆ นี้เป็นกรณีที่ผู้ทำการก่อสร้างอาจที่จะพบเจอได้บ่อยมากๆ เมื่อต้องทำงานโครงสร้าง คสล อีกด้วย … Read More

การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More

1 135 136 137 138 139 140 141 168