ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม
ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม ด้วยเหตุผล เข้าพื้นที่แคบได้ และ เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตัน มีหลายขนาด 21, … Read More
ต้องการต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มข้างบ้านพื้นที่โล่งๆ สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. และการตอก มีมาตรฐาน ISO
ต้องการต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มข้างบ้านพื้นที่โล่งๆ ขอผู้ให้บริการที่ตอกแล้วสะอาดไม่เลอะดินโคลนหน่อยครับ วิศวกรบอกว่าให้ใช้สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. และการตอก มีมาตรฐาน ISO แนะนำใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม เสาเข็มที่รองรับงานต่อเติมเพื่อป้องกันการทรุด ตามที่วิศวกรออกแบบ จะนิยมใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ … Read More
การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มกลุ่ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ผมได้พูดถึงและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยว่าวันนี้ผมก็จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงและอธิบายต่อถึงวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อให้จบในส่วนเนื้อหาการโพสต์ส่วนนี้นะครับ ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังจำกันได้ ผมเคยได้อธิบายไปเมื่อสองสัปดาห์ก่อนแล้วว่าเราอาจจะเรียกค่าของการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยวว่าเป็น “การทรุดตัวในตอนเริ่มแรก” หรือ “INITIAL SETTLEMENT” หรือก็มีอีกชื่อหนึ่งซึ่งเรานิยมเรียกกันนั่นก็คือ … Read More
ฐานรากแผ่(ต่อ)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สำหรับในโพสต์ล่าสุดของผมเกี่ยวกับเรื่องฐานรากแผ่นั้น ในตอนแรกผมตั้งใจที่จะโพสต์ๆ นั้นเป็นโพสต์สุดท้ายสำหรับช่วงเวลานี้ แต่ พอโพสต์ไปแล้วก็ได้รับผลตอบรับที่ค่อนข้างดี และ ได้มีคำถามต่อเนื่องตามมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ นี้ผมจึงอยากที่จะขอโพสต์ต่อเนื่องเกี่ยวกับฐานรากแผ่ไปก่อนนะครับ ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบคำถามให้แก่เพื่อนวิศวกรที่ได้ถามผมมานั่นเองนะครับ คำถามที่เพื่อนวิศวกรได้สอบถามผมต่อเนื่องมาจากโพสต์ของเมื่อวาน คือ หากเราจะทำการก่อสร้างฐานรากแผ่วางบนดินในบริเวณที่ลาดเชิงเขาซึ่งหมายความว่าลักษณะของชั้นดินจะไม่ใช่เป็นแนวระดับในแนวราบเหมือนกรณีทั่วๆ ไปของการทำฐานรากแผ่นะครับ ในการก่อสร้างฐานรากแผ่วางตัวอยู่บนแนวพื้นที่มีความเอียงลาดนั้น ฐานรากตัวริมที่จะติดกับพื้นที่ลาดเอียงนั้น เราจะต้องตรวจสอบดูว่าระยะจากขอบนอกสุดส่วนบนของฐานราก (ระยะ V … Read More